Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สารสนเทศ การรู้สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ - Coggle Diagram
สารสนเทศ การรู้สารสนเทศ
และการรู้เท่าทันสื่อ
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ SOCIAL MEDIA
SOCIAL MEDIA คืออะไร
เครื่องมือ / เว็บไซต์ที่ใช้ในการสื่อสาร รวบรวม และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต
SOCIAL MEDIA กับการศึกษา
นักเรียน 96% แสดงตัวตนทางอินเทอร์เน็ตโดยใช้เครือข่ายทางสังคม
มากกว่า 50% มีการสนทนาเกี่ยวกับงานที่ครู/โรงเรียนมอบให้
เครื่องมือที่ได้รับความนิยมได้แก่ Skype, Youtube, Wordpress, Twitter และ Facebook
ทําไมต้องจัดการเรียนการสอนโดยใช้ SOCIAL MEDIA
ด้านครู
พัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีของครู
เผยแพร่องค์ความรู้สู่สังคมออนไลน์
สร้างสังคมออนไลน์แห่งการเรียนรูู้
นําไปสูู่การสร้างสื่ออื่นๆ
กํากับติดตามดูแลนักเรียนในการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ด้านนักเรียน
รู้เท่าทันภัยอันตรายทางอินเทอร์เน็ต
สามารถค้นหาข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูลสู่อินเทอรเน็ตได้อย่างมีคุณภาพ
ส่งเสริมให้มีการใช้สื่อออนไลน์ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้
องค์ประกอบของการรู้สารสนเทศ
ทักษะที่ 3 การกําหนดแหล่งสารสนเทศและการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ (Location and access)
ทักษะที่ 4 การใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (Use of information)
ทักษะที่ 2 การใช้กลยุทธ์ในการสืบค้นสารสนเทศ (Information seeking strategies)
ทักษะที่ 5 การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)
ทักษะที่ 1 การกําหนดความต้องการสารสนเทศ (Task definition)
ทักษะที่ 6 การประเมินสารสนเทศ (Evaluation)
ความสําคัญของสารสนเทศ
ช่วยในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพ
สนับสนุนการวางแผนและนโยบายการพัฒนาประเทศด้านต่าง
เป็นสิ่งจําเป็นต่อการวิจัยและพัฒนาสิ่งต่าง ๆ
ปัจจัยสําคัญที่ทําให้เกิดความเจริญก้าวหน้าพัฒนาประเทศชาติ
ช่วยพัฒนาศักยภาพของคนในสังคม
ช่วยติดตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงของโลก
ลักษณะสารสนเทศที่ดี
ความทันสมัยและทันต่อการใช้งาน
ความสมบูรณ์
ตรงกับความต้องการ
ตรวจสอบแหล่งที่มาได้
ความถูกต้อง
ประโยชน์ของสารสนเทศ
สารสนเทศก่อให้เกิดความเป็นเหตุเป็นผล
สารสนเทศก่อให้เกิดภูมิปัญญา
สารสนเทศก่อให้เกิดการสืบทอดทางวัฒนธรรม
สารสนเทศก่อให้เกิดมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
สารสนเทศก่อให้เกิดการศึกษา
สารสนเทศก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านต่าง
ประโยชน์ของสารสนเทศจะขึ้นอยู่เงื่อนไขของความต้องการ หรือปัญหาของมนุษย์แต่ละบุคคล ซึ่งธรรมชาติของมนุษยจะใช้สารสนเทศ 2 กรณีคือ เมื่อเกิดความต้องการรู้และเมื่อต้องการแก้ไขหรือป้องกันปญหา
สารสนเทศก่อให้เกิดการพัฒนา
สารสนเทศ
เป็นหัวใจสําคัญต่อการดํารงชีวิตในสังคม โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นพลังขับเคลื่อนหรือปัจจัยหลักที่ส่งผลให้เกิดการเป็นสังคมสารสนเทศ (information society)และเป็นสังคมฐานความรู้ (Knowledge Based Society)
หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ข้อเท็จจริง ความคิด ประสบการณ์รวมถึงจินตนาการของมนุษยที่มีการจัดการบันทึกลงในสื่อสิ่งพิมพสื่อโสตทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการสื่อสารและการตัดสินใจ
ความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูล สารสนเทศ องค์ความรู้และปํญญา
ข้อมูล
สารสนเทศ
องค์ความรู้
ปัญญา
เครื่องมือ SOCIAL MEDIA ที่นิยมใช้ในการจัดการเรียนการสอน
www.twitter.com
www.facebook.com
www.slideshare.com
www.youtube.com
www.wordpress.com
Google Docs
ลักษณะของผู้เรียนที่เป็นผู้รู้สารสนเทศ
การส้รางบุคคลให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long learner) เป็นผู้ที่สามารถค้นหาประเมิน และใช้สารสนเทศได้อยางมีประสิทธิภาพเพื่อการแก้ปญหาหรือการตัดสินใจ บุคคลจะเปนผู้รู้สารสนเทศก็คือ บุคคลที่รู้ว่าจะเรียนรู้ได้อย่างไร (People who have learnedhow to learn)
MediaLiteracy
การรู้เท่าทันสื่อ
แนวทางการรู้เท่าทันและวิเคราะห์สื่อ
ตั้งคําถามต่อข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ ที่ได้รับมา
ที่มาที่ไปของข่าวสาร ใครเขียน ใครให้สัมภาษณ์แหล่งข่าว
ฉันไม่เชื่อ (สิ่งที่ได้อ่าน ได้ฟัง ได้ยิน ได้พบ ได้รับการบอกเล่ามา ฯลฯ)
การขวนขวายที่จะเช็คข้อมูลข่าวสารจากหลากหลายทิศทาง เช่น จากสื่อต่างชนิดกัน สอบถามผู้รู้ ค้นจากตํารา
ลักษณะสําคัญของสื่อ
สื่อสร้างภาพความจริง
สื่อคือธุรกิจ
สื่อส่งสารเชิงอุดมการณ์และค่านิยม
สื่อแสดงนัยทางสังคมและการเมือง
สื่อทั้งหมดมีผู้สร้าง
ความสําคัญของการรู้เท่าทันสื่อ
เราอยู่ในสังคมที่เรารับรู้โดยมีสื่อเป็นตัวกลาง สิ่งที่เราเรียน้รูเกี่ยวกับโลก เกี่ยวกับเหตุการณต่างๆที่เกิดขึ้นหรือแม้แต่ค่านิยมต่างๆที่เรายอมรับ มิได้มาจากประสบการณตรงเท่าใดนัก แต่มักจะเปนการเรียนรู้ผ่านสื่อโดยเฉพาะอยางยิ่ง หนังสือพิมพโทรทัศนวิทยุ และอินเทอรเน็ตที่สามารถเข้าถึงคนจํานวนมากได้ในเวลาเดียวกัน
ความหมายของการรู้เท่าทันสื่อ
การรู้เทาทันสื่อ คือ การอ่านสื่อให้ออก เพื่อพัฒนาทักษะในการเข้าถึงสื่อ การวิเคราะห์สื่อ การตีความเนื้อหาของสื่อ การประเมินค่าและเข้าใจผลกระทบของสื่อและสามารถใช้สื่อให้เกิดประโยชนได้
ทําไมต้องทันสื่อ
สื่อมีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อ พฤติกรรม
เด็กและเยาวชนไทย คนไทย เป็นนักเสพสื่อตัวยง
ตัวเราล้อมรอบไปด้วยสื่อนานาชนิด
บทบาทของ ICT มีเพิ่มมากขึ้นทุกขณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมาย
เครื่องมือในการเก็บรวบรวม การจัดเก็บขอ้มูลไว้อย่างเป็นระบบ มีการประมวลผลวิเคราะหผลที่ประมวลได้จากขอมูลนั้น สามารถเรียกหาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการสื่อสารข้อมูลไปยังผู้ต้องการได้อยางมีประสิทธิภาพในรูปแบบที่เขาใจง่าย เช่น อินเทอร์เน็ตเครือข่ายคอมพิวเตอรฐานข้อมูลออนไลนซีดีรอม เป็นตน
ความสําคัญ
การดํารงชีวิตประจําวัน
การดําเนินธุรกิจ
การศึกษาและการเรียนรู้
การรู้สารสนเทศ (Information Literacy)
การรู้ถึงความจําเปนของสารสนเทศ (ข้อมูลข่าวสาร) ทักษะในการรู้ความต้องการสารสนเทศและระบุสารสนเทศที่ต้องการ ทักษะในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ ได้แก่ การสืบค้น/การค้นคืนสารสนเทศ โดยสามารถกําหนดคําค้น ใชกลยุทธในการสืบค้น และปรับปรุงการสืบค้นได้การพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การวิเคราะหและประเมินสารสนเทศ การจัดระบบประมวลสารสนเทศ การตีความและทําความเข้าใจสารสนเทศ การประเมินความน่าเชื่อถือและความเกี่ยวข้องของสารสนเทศ การประยุกต์ใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจที่มีประสิทธิผลและสร้างสรรคการสรุปอ้างอิงและสื่อสารสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อการแก้ปญหา และเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์เฉพาะการสังเคราะหสร้างความรู้ใหม่ การใช้สารสนเทศได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรมและกฎหมายและการพัฒนาเจตคตินําไปสูการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ความสําคัญของการรู้สารสนเทศ
ทําใหผู้เรียนเป็นผู้มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ความเข้าใจสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
เป็นเครื่องมือสําคัญในการเลือกใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพ
การประกอบอาชีพ
การดํารงชีวิตประจําวัน
การศึกษาเรียนรู้