Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สารสนเทศ การรู้สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ - Coggle Diagram
สารสนเทศ การรู้สารสนเทศ
และการรู้เท่าทันสื่อ
ความหมายสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลต่างๆ ที่ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมี การประมวลหรือวิเคราะห์ผลสรุปด้วยวิธีการต่างๆ ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์กัน มีความหมาย มีคุณค่าเพิ่มขึ้นและมีวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและได้รับข้อมูลที่ทันสมัย 2.ผู้ใช้สามารถนำสารสนเทศที่ได้ มากำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ และการวางแผนปฏิบัติการในการทำงานได้ 3.ผู้ใช้สามารถนำสารสนเทศที่ได้ มาใช้ในการตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงาน 4 ผู้ใช้สามารถนำสารสนเทศที่ได้ มาใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา หรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น การค้นหาสาเหตุ หรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการดำเนินงาน เพื่อหาวิธีควบคุม ปรับปรุง และแก้ไขปัญหา 5. ผู้ใช้สามารถนำสารสนเทศที่ได้ มาใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มีความถูกต้องแม่นยำ (accuracy) 2. ทันต่อเวลา (timeliness) 3. มีความสมบูรณ์ครบถ้วน (complete) 4. มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) 5. สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable)
ความสำคัญของสารสนเทศ
1 ความสำคัญของสารสนเทศต่อบุคคลและต่อองค์กร ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการศึกษา การประกอบอาชีพ หรือการดำรงชีพ สารสนเทศมีบทบาทต่อมนุษย์มากเกินกว่าที่บางคนตระหนักถึง ในด้านการปฏิบัติงานและในการจัดการ สารสนเทศที่ถูกต้องนับเป็นองค์ประกอบสำคัญโดยเฉพาะการแก้ปัญหา การตัดสินใจ และการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 ความสำคัญของสารสนเทศต่อสังคม สารสนเทศมีความสำคัญต่อสังคม 2 ด้าน คือ ด้านการปกครอง และด้านการพัฒนา
องค์ประกอบของการรู้สารสนเทศประกอบด้วย
1) ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ 2) ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ 3) ความสามารถในการใช้สารสนเทศ
ความหมายการรู้เท่าทันสื่อ
การรู้เท่าทันสื่อ คือ ความสามารถในการตีความ วิเคราะห์ แยกแยะเนื้อหาสาระของสื่อ สามารถโต้ตอบได้อย่างมีสติและรู้ตัว สามารถตั้งคำถามว่าสื่อถูกสร้างขึ้นได้อย่างไร เช่น ใครเป็นเจ้าของสื่อ ใครผลิต และผลิตภายใต้ข้อจำกัดใด
คุณสมบัติเพิ่มเติมอื่นๆ ท่ีผู้เรียนควรมี
1) การรู้ห้องสมุด (Library literacy) 2) การรู้คอมพิวเตอร์ (Computer literacy) 3) ก่รรู้เครือข่าย (Network literacy) 3) การรู้สื่อ (Media literacy) 4) การรู้สารสนเทศดิจิทัล (Digital literacy) 5) การมีความรู้ด้านภาษา (Language literacy) 6) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) 7) การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ (Information ethic)
ความสําคัญของการรู้เท่าทันสื่อ
เราอยู่ในสังคมที่เรารับรู้โดยมีสื่อเป็นตัวกลาง สิ่งท่ีเราเรียนรู้เกี่ยวกับโลก เก่ียวกับ เหตุการณ์ต่างๆ ค่านิยมต่างๆท่ีเรายอมรับ มิได้มาจากประสบการณ์ตรง เท่าใดนัก แต่มักจะเป็นการเรียนรู้ผ่านสื่อโดยเฉพาะอย่างย่ิง หนังสือพิมพ์ โทรทัศน วิทยุ และ อินเทอร์เน็ต
ลักษณะสําคัญของสื่อ
1 สื่อสร้างภาพความจริง
2 สื่อคือธุรกิจ 3
4 สื่อส่งสารเชิงอุดมการณ์และค่านิยม 5) สื่อแสดงนัยทางสังคมและการเมือง
SOCIAL MEDIA คืออะไร ?
เครือองมือ / เว็บไซต์ ที่ใช้ในการสื่อสาร รวบรวม และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ใช้งาน อินเทอร์เน็ต
-เป็นเว็บ 2.0 ทุกคนสามารถแบ่งปันข้อมูล และติดต่อสื่อสารกันเป็นเครือขราย
ทําไมต้องจัดการเรียนการสอนโดยใช้ SOCIAL MEDIA ?
ด้านครู
-พัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยี -เผยแพร่องค์ความรู้สู่สังคมออนไลน์ -สร้างสังคมออนไลน์แห่งการเรียนรู้ -กำกับติดตามดูแลนักเรียนในการใช้งานอินเทอร์เน็ต -นำไปสู่การสร้างสื่ออื่น ๆ -พัฒนาผลงานทางวิชาการ
ด้านนักเรียน
-ส่งเาริมให้มีการใช้สื่อออนไลน์ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ -รู้เท่าทันภัยอันตรายของสื่อ -สามารถค้นหาข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูลสู่อินเทอร์เน็ตได้อย่างมีคุณภาพ