Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แหล่งเรียนรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้ - Coggle Diagram
แหล่งเรียนรู้
และเครือข่ายการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ของแหล่งเรียนรู้
เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับความแตกต่าง
เพื่อจัดหาโอกาสสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากสื่อ
เพื่อหาแนวทางการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ
เพื่อจัดหาโอกาสทางการศึกษาอย่างอิสระ และศึกษา
ด้วยตนเอง
เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณา
ตัดสินสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
แหล่งการเรียนรู้นอกโรงเรียน
แหล่งการเรียนรู้ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติเช่น สภาพแวดล้อม ป่า ภูเขา แหล่งนํ้า ทะเล สัตว ฯลฯ
แหล่งการเรียนรู้ที่มนุษยสร้างขึ้น เช่น ชุมชน วิถีชีวิต อาชีพ ภูมิปญญา ประเพณี วัฒนธรรม สถาบันโบราณสถาน สถานที่สําคัญ แหล่งประกอบการ
ความสําคัญของเครือข่ายการเรียนรู้
ปัจจุบันมีการส้รางระบบเครือข่ายการเรียนรู้กันมากขึ้นเพื่อเป้นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดระบบการเรียน การสอน รูปแบบใหมในสถาบันการศึกษา เช่น เครือข่ายภายในโรงเรียน หรือภายในสถาบันอุดมศึกษา และเชื่อมโยงกันระหวางวิทยาเขตจัดเป็นแคมป์สเน็ตเวิรค ก่อให้เกิดการติดต่อสื่อสารระหวางครูกับนักเรียน เพื่อรวมมือกันทํางานได้มากขึ้น เป็นสื่อกลางเพื่อใหผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารได้ทั่วโลก รวมทั้งสามารถใช้ประโยชนจากระบบอินทราเน็ตในการส่งข่าวสารได้
สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้เป็นกระบวนการ “เปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม”อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก
ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสาร
เคมีหรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์
การเรียนรู้
ความรู้ไม่ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียง
อย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียน
เอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อ ผู้เรียนได้ลงมือ
กระทําด้วยตนเอง (Learning by doing)
สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางปัญญาที่มนุษย์มี
การเชื่อมโยงระหว่าง ความรู้ประสบการณ์เดิม เข้ากับความรู้ประสบการณ์ใหม่แล้วจัดระบบในสมองเป็นความ
จําถาวร
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้
(learning network forming)
ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้(learning network
utilizing)
ขั้นการธํารงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้ (learning
network maintaining)
ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้
(learning network organizing)
เครือข่ายการเรียนรู้กับความเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทบาทของการเรียนการสอน มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้โดยเฉพาะระบบเครือข้ายคอมพิวเตอร์และการใช้อินเทอร์เน็ต
ห้องเรียน สําหรับผู้สอน ประกอบด้วยอุปกรณที่ใช้ในการสอน
บทบาทของผู้เรียน เปลี่ยนแปลงจากระบบเดิมที่นักเรียนเป็นเพียงผู้รับฟัง และปฏิบัติตามคําสั่งของครูรับฟังความรู้ความคิดเห็นจากครูเป็นหลัก ไปสู่ระบบที่นักเรียนต้องเป็นผู้แสวงหาด้วยตนเอง ต้องกระตือรือร้น และตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา
ศูนย์คอมพิวเตอร์สําหรับนักเรียน
บทบาทของผู้สอน จากระบบเดิมที่เน้นให้ครูเป็นจุดศูนย์กลางของการเรียนการสอนเปลี่ยนไปสู่ระบบที่ครูเป็นเพียงผูชี้แนะหรือเป็นที่ปรึกษาในสาขาวิชาที่สอนโดยผ่านทางเครือข่าย
ฐานบริการขอ้มูลการเรียน เป็นที่เก็บข้อมูลข่าวสารในรูปแบบต่างๆ ทั้งที่อยูในรูปของตัวอักษร รูปภาพ และเสียง ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียกใช้งานได้ตลอดเวลา
รูปแบบการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนเป็นหลักในการแสวงหา ค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเองมากขึ้นจาก
แหล่งสารสนเทศต่างๆ ทั่วโลก และจากสื่อหลากหลายประเภทนอกเหนือจากหนังสือ
Student Homepage เป็นที่เก็บข้อมูล ข่าวสารของนักเรียน และส่งการบ้านให้ครูตรวจได้โดยแจ้ง pointer บอกตําแหน่งให้ครูทราบ
บทบาทของครูผู้สอนในการใช้แหล่งเรียนรู้
ผู้สนับสนุนและเสริมแรง
ผู้ติดตามตรวจสอบ
ผู้ช่วยเหลือหรือแหล่งวิทยากร
ผู้ร่วมทํากิจกรรม
ผู้จัดการ
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
สร้างกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน
เป็นการเรียนแบบร๋วมกันและทํางานร๋วมกันเป็นกลุ่ม
จัดให้เครือข่ายการเรียนรู้เป็นเสมือนชุมชนของการ
เรียนรู้แบบออนไลน์
สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก
เครือข่ายการเรียนรู้
หมายถึง การประสานแหล่งความ้รูและข้อมูลข่าวสาร การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการปฏิบัติงานอย่างสอดคล้อง เชื่อมโยงกันทั้งระหว่างงานที่รับผิดชอบ การจัดการศึกษาในและนอกระบบโรงเรียนและระหว่างหน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับต่าง ๆ ตลอดจนระบบการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ เพื่อสร้าง แลกเปลี่ยน ถ่ายทอดและกระจายความรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อใหประชาชนมีโอกาสได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางและต่อเนื่องตลอดชีวิตตามความต้องการของบุคคลและชุมชน
ข้อดีในการนําแหล่งเรียนรู้ไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อชุมชนและกระบวนการเรียนรู้
ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ภูมิปญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากของจริงทําใหเกิดประสบการณ
ลักษณะของแหล่งเรียนรู้
แห่ลงเรียนรู้ที่เกิดเองตามธรรมชาติ
แหล่งเรียนรู้ที่เป้นทรัพยากรบุคคล
แหล่งเรียนรู้ที่จัดทําหรือสรางขึ้น
แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
แหล่งการเรียนรู้ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติเช่น บรรยากาศ สิ่งแวดลอม ปรากฏการณืธรรมชาติสิ่งมีชีวิต ฯลฯ
แหล่งการเรียนรู้เที่มนุษยสร้างขึ้น เช่น ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดกลุ่มสาระ ห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ห้องโสตทัศนศึกษา ห้องมัลติมีเดีย เว็บไซต ฯลฯ
แหล่งเรียนรู้
แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ที่
สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้แสวงหาความรู้และ
เรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกวางขวางและต่อเนื่องเพื่อเสริมสรางให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรูและเป้นบุคคล
แห่งการเรียนรู้
ประเภทของแห่ลงการเรียนรู้
นอกโรงเรียน
ตามธรรมชาติ
มนุษย์สร้างขึ้น
ในโรงเรียน
ตามธรรมชาติ
มนุษย์สร้างขึ้น