Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2500, พคท., ความสัมพันธิ์กับอเมริกา - Coggle Diagram
2500
ยุคสายลมแสงแดด
2506
-
-
พร้อมกันนั้ น สิ่ งพิมพ์ประเภทวารสารทางปัญญาที่ มุ่ งนำเสนอ แนวความคิดและวิพากษ์วิจารณ์ทางการเมืองในรั้วมหาวิทยาลัยก็ได้เริ่มก่อตัว โดยมีจำนวนทั้งสิ้น 3 ฉบับ ดังนี้
-
-
-
นักศึกษากลับมุมานะ สนใจในด้าน การกีฬา กิจกรรมการบันเทิง สันทนาการ อาทิ งานบอล ลีลาศ เต้นรำ พาเหรด ประกวดร้องเพลง/ดนตรี ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มุ่งไปที่การจรรโลง จิตใจมากกว่าการที่มุ่งรับใช้ประชาชน
-
นโยบายการศึกษาที่ ดำเนินมาตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 (2504-2509) ที่ ต้องการขยายการศึกษาให้ กว้างขวางและสามารถเข้าถึงได้มากยิ่งขึ้น
-
-
-
ขณะเดียวกัน ในยุคสมัยนี้สื่อสิ่งพิมพ์ที่กลับขึ้นมามีบทบาทอย่าง น่าสนใจโดยแทนที่หนังสือพิมพ์ (ซึ่งมีการคาดการณ์ว่าไม่สามารถเปิดฉบับใหม่ ออกมาได้ เพราะ ไม่มีนโยบายให้เปิดหนังสือพิมพ์เพิ่มเติม) หากแต่ ที่มีการ เผยแพร่มาก คือ สิ่งพิมพ์ประเภท นิตยสาร วารสาร จุลสาร ไม่ว่าจะเป็นราย ปักษ์ รายเดือน หรือรายสะดวก กลับได้รับการอนุญาตให้มีการตีพิมพ์ออกมาได้ อย่างถูกกฎหมายเป็นจำนวน 165 ฉบับ26 โดยในระยะแรกช่วง พ.ศ.2501-2506 เป็นช่วงที่มีการตีพิมพ์พวกวารสารของทางราชการเพียง 29 ฉบับ
-
วารสาร สังคมศาสตร์ปริทัศน์ นับเป็นหนึ่งในผลงานชิ้นแรกๆ และ สำคัญที่สุดชิ้นหนึ่ง ในชีวิตของสุลักษณ์ (ภายหลังจากเดินทางกลับจากอังกฤษ เมื่อ พ.ศ.2503)
-
จุดมุ่งหมายสำคัญของสำนักพิมพ์มิตรนรา คือ การพิมพ์งานของ ปัญญาชนก้าวหน้า 2490 ทั้งประเภทเรื่องสั้นและวรรณกรรมประเภทนวนิยาย เล่ มสำคั ญอย่ าง ปี ศาจ (2514) และ ความรั กของวั ลยา (2513) ของ เสนีย์ เสาวพงศ์
-
-
ในบรรดางานเขียนทั้งหลายมีงานชิ้นหนึ่งที่สำคัญ แล้วมีการ เผยแพร่เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2519 นั่นคืองาน “ความเป็นมาของคำสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ” ของ จิตร ภูมิศักดิ์
ในเวลาไล่เลี่ ยกันสุลักษณ์ได้ไปประชุมที่ มหาวิทยาลัยพรินซตัน (Princeton) สหรัฐฯ ระหว่างวันที่ 1-5 ธันวาคม 2511 ในหัวข้อ “The United States, Its Problem, Its Image and Its Impact in the world”
-
สงครามโลก
นำมาสู่ การแก้ไขระบบราชการที่ มีปัญหามาตลอดโดยเชื่ อมโยงเข้าสู่ อำนาจของ นายกรัฐมนตรี ผ่าน พรบ.จัดระเบียบราชการสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2502
-
ขณะที่ ประเทศลาวก็มิได้มีกองกำลังทหารเข้ามาโจมตีแต่อย่างใด แต่ ในความเป็นจริงรัฐไทยอาศัยรัฐบาลสหรัฐฯ ตั้งค่ายทหารผ่านชนเผ่าม้งเพื่อให้รบ ให้กับฝ่ายขาวของลาว จอมพลสฤษดิ์ ยังเป็นผู้ สนับสนุนให้ พล.อ.ภู มี หน่อสวรรค์ เป็นผู้นำรัฐประหารในลาวฝ่ายขวาก่อการรัฐประหารเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2502 ซึ่งยิ่งทำให้สงครามลับในลาวกลับมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น
รัฐบาลสหรัฐฯ ยังได้ส่งกำลังเข้ามา
ประจำการ 10,000 คน ในเดือนพฤษภาคม 2505
พร้ อมกั นนั้น รั ฐบาลได้ มี การควบคุ มวิ ทยุ กระจายเสี ยงผ่ าน คณะกรรมการควบคุมวิทยุกระจายเสียง กรมประชาสัมพันธ์58 กำหนดให้มีการ กระจายเสียง 70 สถานี (ตัวเลขในปี พ.ศ.2507 ก่อนที่จะมีสถานีเปิดใหม่เพิ่มขึ้น อีกมากมายโดยเฉพาะภายหลัง 14 ตุลา)
-
จะรายงานข่าวเกี่ยวกับรัฐไทยถี่มากขึ้น ตลอด พ.ศ.2509-2510 ถึงการรุกรานเพื่อนบ้าน รายงาน เอกสาร และการ ควบคุมการสื่อสารที่เป็นไปในการลับ
พร้อมกับ ตอบโต้ด้วยการโจมตี กลับผ่านบุคคลและองค์กรเหล่านี้และมีการแถลงด้วยวาทะ “วิทยุเถื่อนของ คอมมิวนิสต์” หรือที่กล่าวสั้นๆ “วิทยุเถื่อน
-
-
-
ซึ่งผลจากการประท้วงทำให้เกิดการจัดตั้ง “ชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ 37 สถาบัน” พ.ศ.2516
ชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติทราบว่ากองทัพอากาศไทย
ความเคลื่อนไหวจึงเกิดขึ้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2517 โดยกองทัพอากาศได้กล่าวถึงว่า นักศึกษาที่มีความเคลื่อนไหวอยู่นั้นเป็นพวกที่มี ความสัมพันธ์กับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ (ผ.ก.ค.)
-
-
-
ปี พ.ศ.2509 สำนักข่าวเอพีก็ได้เสนอข่าวว่าเครื่องบินสหรัฐฯ ที่ไปทิ้งระเบิดเวียดนามเหนือและลาวส่วนหนึ่งมาจากประเทศไทย ส่งผลให้กรม ประชาสัมพันธ์ต้องออกคำแถลงเรื่อง “ปฏิเสธข่าวต่างประเทศ” เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2509
เดือนมกราคม 2510 รัฐบาลไทยก็ได้ตัดสินใจส่งทหารไปร่วมรบในเวียดนาม ใต้ ร่วมกับทหารชาติอื่นๆ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการเข้าร่วมสงครามอย่างเต็มตัว
-
-
พคท.
โดยตรงที่ได้รับการนำมาเผยแพร่ในเมือง หรือปัญญาชน เดือนตุลาบางส่วนที่ได้มีความสัมพันธ์กับพคท. มาตั้งแต่ก่อน 14 ตุลา และได้ ปฏิบัติหน้าที่ในการเผยแพร่ทางความคิดในทุกรูปแบบกับนักศึกษา
-
-
ขณะเดียวกัน พคท. ก็ได้มีการตั้งองค์กรที่เป็นแนวร่วมของ พคท. ในนาม “แนวร่วมรักชาติแห่งประเทศไทย” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2508 มี พันโท พโยม จุลานนท์ (บิดาพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์) เป็นตัวแทนอยู่ใน กรุงปักกิ่ง
รัฐบาลไทยก็ได้ถูกวิทยุ สปท. โจมตีอย่างหนักหน่วง ว่ารัฐบาลจอมพลถนอมนั้นเป็น “ขี้ข้าอเมริกา” หรือ “สมุนจักรพรรดินิยม” ส่วนอเมริกาก็จะถูกเรียกว่าเป็น “จักรพรรดินิยม”
-
-
-
-
-