Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร - Coggle…
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร
ฮาร์ดแวร์
ความหมาย เครื่องคอมพิวเตอร์หรือองค์ประกอบต่างๆซึ่งแบ่งเป็นหน่วยการทำงานเครื่องคอมพิวเตอร์หรือองค์ประกอบต่างๆซึ่งแบ่งเป็นหน่วยการทำงานต่างๆ
หน่วยรับเข้า(input unit)
ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าในระบบ
เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด ไมโครโฟน สแกนเนอร์ เครื่องอ่านลายนิ้วมือ
เครื่องสแกนใบหน้า
หน่วยประมวลผลกลาง(central Processing unit,CPU)
-ทำหน้าที่นาที ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งที่ ซอฟต์แวร์ส่งมา
-เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์
-ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบ
-คำนวณตามกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเปรียบเทียบ
หน่วยความจำ(memory unit)
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.หน่วยความจำ หน่วยความจำรอง(secondary storage) เช่น flash drive
2.หน่วยความจำหลัก(Main storage)เช่นROM RAM
หน่วยแสดงผล(out put)
ทำทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล จอภาพ ลำโพง จอภาพ ลำโพง เครื่องพิมพ์ โปรเจคเตอร์
ซอฟต์แวร์(software)
ซอฟต์แวร์แบบระบบ(system software)
ความหมายเป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมการทำงานเป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์มีชื่อเรียกว่าระบบรับส่งข้อมูลพื้นฐานหรือไบออส
โปรแกรมระบบปฎิบัติการ(operating system)
ความหมาย เป็นโปรแกรมที่จัดการให้คอมพิวเตอร์เก้ากับฮาร์ดแวร์และโปรแกรมประยุกต์อื่นๆที่ติดตั้งไว้ในระบบเมื่อเครื่องปิดฝา
ข้อดี
มีความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์ต่ำ
ใช้งานง่ายเนื่องจากใช้การติดต่อกับผู้ใช้งานด้วยภาพและสัญลักษณ์
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความต้องการด้านระบบสูง
ข้อเสีย
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้งานจํากัด
มีความเสี่ยงเรื่องเมาแวร์มากกว่าระบบปฎิบัติการอื่นๆ
การใช้งานค่อนข้างซับซ้อนสำหรับผู้ใช้งานทั่วไป
โปรแกรมอรรถประโยชน์(utility program)
ความหมาย เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำเป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่างเพื่อจัดการงานพื้นฐาน บริการต่างๆและใช้จัดการฮาร์ดแวร์โดยตรง
มี2 ประเภท
โปรแกรมสำหรับระบบปฎิบัติการ(OS Utility program)
ความหมาย เป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมระบบปฏิบัติการอยู่แล้วซึ่งอำนวยความสะดวกในการทำงานร่วมกับฮาร์ดแวร์
ตัวอย่าง
-โปรแกรมจัดการไฟล์( file manager)
-โปรแกรมยกเลิกการติดตั้ง(uninstaller)
-โปรแกรมโปรแกรมสแกนดิส(disk scanner)
-โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่จัดเลี้ยงพื้นที่จัดเก็บข้อมูล(Disk defragmenter)
-โปรแกรมรักษาหน้าจอ(screen saver)
โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ(standalone untillity program)
เป็น โปรแกรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่าง
-โปรแกรมบีบอัดไฟล์(file compression utility)
-โปรแกรมไฟร์วอลล์(firewall)
-โปรแกรมป้องกันไวรัส(anti virus program)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์(application software)
ความหมาย
เป็นซอฟต์แวร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นมาเพื่อทำงานเฉพาะทาง
1.ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์(Commercialware)
2.ฟรีแวร์ (Freeware)
3.แชร์แวร์(Shareware)
4.โอเพนซอรส์ (Open-source)
โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้กันทั่วไป(general purpose software)
โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้กันทั่วไปส่วนใหญ่มักจะมีโปรแกรมสำนักงานซึ่งก็คือโปรแกรมจัดการกับเอกสารและคำนวณในงานสํานักงาน
ตัวอย่าง
โปรแกรมประมวลผลคำ
2.โปรแกรมนําเสนอ
3.โปรแกรมประชุมออนไลน์
4.โปรแกรมตารางคํานวณ
5.โปรแกรมฐานข้อมูล
6.โปรแกรมค้นดูเว๊บ(Webbrowser)
ซอฟต์แวร์สำเร็จ(package software)
ความหมาย เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานเฉพาะงานลิขสิทธิ์ของผู้พัฒนา
ตัวอย่าง
-โปรแกรมบัญชีโปรแกรมออกแบบ
-โปรแกรมสร้างภาพ
-โปรแกรมบันทึกเวลาทำงานและเป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานเฉพาะงานลิขสิทธิ์ของผู้พัฒนา
-โปรแกรมบัญชีโปรแกรมออกแบบโปรแกรมสร้างภาพ
ความหมาย เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นตามจุดประสงค์
ของการใช้งาน
K
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์((people ware)
ความหมาย ผู้ที่ปฏิบัติงานในด้านคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ ผู้ที่ปฏิบัติงานในด้านคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ควบคุมดูแลระบบให้ทำงานได้ตลอดเวลาในระบบสารสนเทศแบ่งออกเป็น 5 ระดับ
5ระดับ
1.ผู้บริหารระบบ(system manager)
นักวิเคราะห์ระบบ(system analyst)
หน้าทีศึกษาปัญหาและความต้องการขององค์กรความคุ้มค่าหาแนวทางการแก้ไขปรับปรุงงานให้เกิดประโยชน์
สูงสุดวางแผนและออกแบบระบบออกแบบและสร้างระบบสาระสนเทศน์ขึ้นใหม่ตลอดจนคู่มือการใช้งาน
โปรแกรมเมอร์(programmer)
ทำหน้าทีเขียนและสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานจดได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง(computer operator)
ทำหน้าทีติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บริการด้านการใช้งานควบคุมการทำงานและบำรุงรักษา
พนักงานข้อมูล(data entry operator)
ทำหน้าที่บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ตามที่โปรแกรมกำหนดหรือเป็นผู้ใช้โปรแกรมก็ได้
ข้อมูล(DATA)
ความหมาย เป็นข้อเท็จจริงในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งที่อยู่ในรูปของข้อความ ตัวเลข สัญลักษณ์หรือรายละเอียดอื่นๆที่สัมผัสได้เช่นภาพเสียงวิดิทัศน์ภาพยนตร์ เป็นต้น
2ประเภท
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลปฐมภูมิ(primary data) ข้อมูลที่รวบรวมจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
ตัวอย่าง
-ข้อมูลจากการจดบันทึกจากการสำรวจการ
-ข้อมูลจากการจดบันทึกจาก
-การสำรวจการสอบถามจากการอ่านรหัสแท่งขอเครื่องเก็บเงินจาก
-การประสบพบเห็นได้ตนเอง
-การทดสอบ
-การวัด
2ประเภท
ข้อมูลทุติยภูมิ(secondary data)
ข้อมูลทุติยภูมิข้อมูลที่มีผู้รวบรวม ไว้ก่อนหน้าเเล้ว
ตัวอย่าง เเละรายละเอียด
สถิติจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถนำมีสถิติจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถนำไปใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลารวบรวมอาจเป็นข้อมูลจากการถามคนอื่นหรือข้อมูลจากเอกสาร
นอกจากน้ียังเเบ่งข้อมูลตามเงื่อนไขในการรับเข้า(Input)ได้เเก่
5รูปแบบ
1.ข้อมูลตัวอักขระ (Character data) คือ ข้อมูลที่ใช้คํานวณไม่ได้
2.ขอ้มูลตวัเลข(Numericdata)เป็นขอ้มูลที่นามาคานวณได้
3.ข้อมูลภาพ(Imagedata)คือรูปภาพชนิดต่างๆ
4.ข้อมูลเสียง(Audio)ได้เเก่เสียงบรรยายเสียงประกอบ
5.ข้อมูลวีดิทัศน์(Video)ได้เเก่ภาพยนตร์ภาพเคลื่อนไหว
เทคโนโลยีการสื่อสาร
การพูดคุยออนไลน์การส่งภาพส่งข้อมูลต่างๆตลอดจนส่งอีเมลจะต้องใช้เครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อถึงกัน เช่น คอมพิวเตอร์สมาร์ทโฟนแทบเลทสามารถใช้บริการ Wi-Fi บริการที่มีสัญญาณ Wi-Fi เรียกว่าฮอตสปอตซึ่งนอกจากสัญญาณ Wi-Fi แล้วยังสามารถเชื่อมต่อผ่านระบบสายนำคอมพิวเตอร์สมาร์ทโฟนแทบเลทสามารถใช้บริการ Wi-Fi บริการที่มีสัญญาณ Wi-Fi เรียกว่าฮอตสปอตซึ่งนอกจากสัญญาณ Wi-Fi แล้วยังสามารถเชื่อมต่อผ่านระบบสายนำสัญญาณเรียกว่าสายเลน
การเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตต้องมีอุปกรณ์ต่างๆ และครูให้ บริการ ดังนี้
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
สายนำสัญญาณอินเตอร์เน็ต
เราท์เทอร์(router)
ฮับ(hub)
สายนำสัญญาณ
สายที่ใช้เชื่อมระบบเล่นเป็นสายที่มีสี่คู่บิดกันเป็นเกลียวเรียกว่าสายคู่บิดเกลียว
เป็นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อสัญญาณไปยังเครื่องอื่นเพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกันเพื่อติดตั้งสัญญาณของช่องต่อของเราเตอร์เข้าที่ช่อง ทางออกของฮับจะทำให้สามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ทุกเครื่อง
อุปกรณ์จัดเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตและหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่เร็วที่สุด
เป็นสายน้ำนำเป็นสายนำสัญญาณความเร็วสูงปัจจุบันนิยมใช้สายใหญ่แก้วนำแสงซึ่งจะใช้สัญญาณแสงในการส่งสัญญาณแทนที่จะส่งโดยใช้สัญญาณไฟฟ้า
เรียกว่าไอเอสพีให้บริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและบางบริษัทให้บริการโทรศัพท์ความเร็วสูงด้วย
มีทั้งหมด5ประเภท
ขั้นตอนการปฎิบัติงาน
เป็นภาคปฏิบัติของระบบสารสนเทศซึ่งเริ่มจากการนำอุปกรณ์ต่างๆเก็บรวบรวมข้อมูลนำข้อมูลผ่านกระบวนการประมวลผลและจัดเก็บเพื่อใช้งานต่อไป
ขั้นตอน3ขั้นตอน
1.รวบรวมขอ้มูลเป็นการนาขอ้มูลจากแหล่งต่างๆที่เกี่ยวข้องมาจัดแบ่งเป็น หมวดหมู่
2.ประมวลผลเป็นการนาข้อมูลทั้งหมดที่รวบรวมไว้มาตรวจสอบความถกูตอ้ง
3.สารสนเทศเป็นการนาข้อมูลท่ีประมวลผลแลว้มาสรุปเป็นผลลัพธ์ขั้นตอน
สมาชิกในกลุ่ม
1.ด.ช.ธีรวัฒน์ เอี่ยมเจริญชัย ม2/525 เลขที่22
2.ด.ช.ศิวัชชา ปลื้มพัฒนกิจ ม2/525เลขที่42