Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
กระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับนโยนายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สภาพแวดแล้มในประเทศที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ด้านสังคม
คุณภาพชีวิตของประชาชน
ด้านวัฒนธรรม
อิทธิผลต่อประชาชน
ด้านเศรษฐกิจ
รายได้
ด้านการบริหาร
การรวมและกระจายอำนาจ
ด้านการเมืองในประเทศ
ระบอบการเมือง
สภาพแวดล้อมภายนอกประเทศที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ
สภาพแสดล้อมทางเศรษฐกิจ
นโยบายเกี่ยวกับมาตรฐานการผลิตและการต่อรองด้านการค้า
สภาพแสดล้อมทางสังคม
การแก้ปัญหาคุณภาพชีวิตของประชาชน
การเมืองระดับโลก
ข้อตกลง ความสัมพันธ์ ความร่วมมือในระดับต่างๆ
สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี
การปรับตัวให้มันกับเทคโนโลยีโลก
ผู้มีหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ
ฝ่ายนิติบัญญัติ
ออกพระราชบัญญัติต่างๆ
ฝ่ายบริหาร
นโยบายพัฒนาประเทศ
ฝ่ายตุลาการ
ตัดสินคดี
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะ
พรรคการเมือง
องค์การที่จัดตั้งมาเพื่ออุดมการณ์ทางการเมืองเพื่อแสวงหาและรักษาอำนาจ
ประชาสังคม
การรวมตัวกันของภาคประชนไม่มีภาครัฐ เช่น กลุ่มคนเลี้ยงสุกร
กลุ่มผลประโยชน์
กลุ่มคนที่พยายามเข้ามามีอิทธิพลทางการเมืองเพื่อแสวงหาผลประโยชน์
ประชาชนทั่วไป
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
แนาวคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายในในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหายของนโยบายและนโยบายสาธารณะ
นโยบายหมายถึงแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
นโยบายสาธารณะ หมายถึงแนวทางดำเนินงานของภาครัฐที่ตัดสินใจจัดการประเด็ณปัญหาสาธารณะให้บรรลุเป้าประส่ง
ความสำคัญของนโยบายสาธารณะ
ฝ่ายที่ได้รับผลกระทบจากนโยบาย
ผลกระทบจากนโยบายสาธารณะที่ตั้งใจจะให้เกิด
ผลกระทบจากนโยบายสาธารณะที่ไม่ได้ตั้งใจจะให้เกิด
ฝ่ายผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ
รัฐบาลหรือข้าราชการประจำ
ประโยชน์ของนโยบายสาธารณะ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน
นโยบายที่ออกมาจะต้องสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
แก้ไขปัญหาสาธารณะ
นโยบายการแก้ปัญหาเร่งด่วย เช่น น้ำท่วม ภัยแล้ง
การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
รัฐบาลจะใช้เป็นทิศทางในการพัฒนาและแก้ปัญหาด้านต่างๆของประเทศ
เสริมสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาค
การออกนโยบายจะต้องเป็นธรรมและเสมอภาค
ขั้นตอนของกระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การนำนนโยบายไปปฏิบัติในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการนำนโยบายไปปฎิบัติ
ระบบหรือกระบวนการบริหารงาน
การกำหนดพันธกิจ
การปฏิบัติ
การกำหนดวิสัยทัศน์
โครงสร้างการจัดองค์กร
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค
จังหวัด อำเภอ
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
เทศบาล อบต อบจ
การบริหารราชการส่วนกลาง
กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ
ด้านการจัดโครงสร้างองค์กร
โครงสร้างองค์การมีผลต่อการบรรลุจุดมุ้งหมาย
ด้านปัจจัยสภาพสิ่งแวดล้อมอื่นๆ
ทัศนคติและการยอมรับนโยบาย
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
ด้านระบบหรือกระบวนการบริหาร
ลักษณะนโยบาย
เนื้อเรื่อง วัตถุประสงค์ กิจกรรม
การบริหารจัดการ
การจัดการความรู้ การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารเวลา
การกำหนดนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การก่อตัวของประเด็นสาธารณะ
ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่
ประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศ
ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี
ประเด็นปัญหาที่เป็นระเบียบวาระของชาติ
ประเด็นปัญหาพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ
ประเด็นปัญหาที่ได้ข้อมูลจากการศึกษาวิจัย
การกำหนดวัตถุประสงค์
A
วัตถุประสงค์ภายใต้ทรัพย์ยากรที่มีอยู่
R
วัตถุประสงค์ที่มุ่งไปสู่เป้าหมายองค์การ
M
วัตถุประสงค์ที่สามารถวัดได้
T
วัตถุประสงค์ต้องเรียบง่ายในการจัดการหรือควบคุม
S
วัตถุประสงค์เฉพาะ
การวิเคราะห์ทางเลือกและวิธีการตัดสินใจ
การตัดสินใจเลือกนโยบายตามทฤษฏีการเปลี่ยนแปลงในส่วนเพิ่ม
การตัดสินใจเลือกนโยบายตามทฤษฏีหลักเกณฑ์
การตัดสินใจเลือกนโยบายตามทฤษฏีการผสมผสานระวห่างแนวกว้างและแนวลึก
การนิยามหรือการระบุประเด็นปัญหา
ใครมีปัญหา
รูปแบบในการแก้ไขปัญหา
อะไรคือปัญหา
การประเมินนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญของการดำเนินนโยบาย
เพื่อให้องค์การ หรือภาคต่างๆ มีการปฏิบัติงานหรือเป้าหมายเดียวกัน
วัตถุประสงค์ของการประเมินนโยบาย
เพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินนโยบาย
เพื่อประเมินความเหมาสมของนโยบาย
ผู้ประเมินนโยบาย
ผู้ประเมินที่ได้รัยมอบหมายจากผู้สนับสนุน
ผู้ปฏิบัติงาน
การประเมินภายนอกองค์การ
ผู้ประเมินภายในองค์การที่มีความสามารถเฉพาะทาง
ขั้นตอนการประเมินนโยบาย
การตรวจสอบปัจจัยพื้นฐาน
เป็นการตรวจสอบปัจจัยสภาพแวดล้อม
การเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่คาดกับมราเกิดขึ้นจริง
การวัดผลการปฎิบัติงาน
การวิเคราะห์ความแตกต่าง
การกำหนดเกณฑ์เพื่อเปรียบเทียบ
การวัดความสำเร็จแบบสมดุล
การแก้ไขเพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับนโยบาย
เมื่อผลการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้เป็นไปตามจุดประสงค์
นโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรของประเทศไทย
นโยบายในในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ของรัฐบาลและส่วนราชการ
นโยบบายของรัฐ
นโยบายของคณะรัฐมนตรี 2557
ส่งเสริมอุตสาหกรรมแปลรูป
แก้ปัญหาน้ำท่วม
ดูแลเกษตรกรให้มีรายได้ที่เหมาะสม
การปรับโครงสร้างการเกษตร
ลดอุปสรรคในการส่งออก
นโยบายส่วนราชการ 60-64
ส่งเสริมการแปรรูป
ส่งเสริมการส่งออกสิ้นค้าเกษตร
ลดความเหลื่อมล้ำ
เพิ่มรายได้เกษตรกร
นโยบายในในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
แผนวคิดหลักแหละทิศทางการพัฒนาประเทศ
สาระสำคัญเกี่ยวกับการบริหารงานส่วเสริมและพัฒนาการเกษตร
สร้างความเข้มแข็งและมั่นคงทางเศรษฐกิจ
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
นโยบายในในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตามบทบัญญัติของกฎหมาย
นโยบายตามบัญญัติของกฏหมายที่เกี่ยวกับการเกษตร
กฏหมายเกี่ยวกับการผลิต การจัดการสินค้าเกษตร และความมั่นคงทางอาหาร
กฏหมายเกี่ยวกับทรัพยากรการเกษตร
กฏหมายเกี่ยวกับเกษตรกรและสถาบันการเกษตร
กฏหมายเกี่ยวกับการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการเกษตร