Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยา ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Pathophysiology of urinary system),…
พยาธิสรีรวิทยา ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
(Pathophysiology of urinary system)
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
การควบคุม extracellular fluid volume (ECFV) อาศัยการควบคุมปริมาณโซเดียม (Na balance) และ Plasma osmolarity ขึ้นกับความเข้นข้นของ Na ในพลาสมา
การผลิตน้ำปัสสาวะ มี 3 ขั้นตอน
การดูดกลับในหลอดไตฝอย (tubular reabsorption)
การกรองผ่านโกลเมอรูลัส (glomerular ultrafiltration)
การหลั่งและขับเพิ่มสารโดยหลอดไตฝอย (tubular secretion)
การติดเชื้อของระบบปัสสาวะ (Urinary tract infection : UTI)
Ascending infection Hematogenous route lymphatic route
Infections
Urinary pathogens : E.Coli
Pili Adhesions
Migration neutrophils
Phagocytosis
การควบคุมการขับถ่ายน้ำปัสสาวะ
Parasympathetic (pelvic nerve, S2-4, predominate in emptying phase) โดยมี micturition reflex center) อยู่ที่ไขสันหลังระดับ S2-4 และ pontine micturition center จะควบคุมการหดตัวของกระเพาะปัสสาวะและการคลายตัวของ sprinter ที่สัมพันธ์กัน
ระบบประสาท somatic (pudendal nerve, S2-4) จะควบคุม External urethral sphincter (voluntary) สัญญาณประสาทจากสมองลงมา inhibit micturition reflex เปรียบเหมือนสวิตซ์เปิด-ปิดอนุญาตให้มีการปัสสาวะมรสถานที่และเวลาที่เหมาะสม
Sympathetic (Hypogastric nerve, T10-L2, predominate in storage phase)
ความผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
การบาดเจ็บของไขสันหลัง การบาดเจ็บของไขสันหลังระดับก้นกบ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Urinary incontinence)
การอุดกั้นการไหลของปัสสาวะ
สาเหตุการหลั่ง Renin เพิ่มขึ้น
Juxtaglomerular cells ทำงานมากทำให้หลั่ง renin มากขึ้น
มีการกระตุ้น renalsympatheticnerve
Na เข้าสู่ maculadensa น้อย
Ca ในเซลล์ลดลง จาก Ca channel ปิด
BP drop
อวัยวะในระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ไต
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงไต
ลดการทำงานของ mesangial cells ทำให้กรองน้อยลงที่ glomerulus (GFR)
Juxtaglomerular cells ทำให้หลั่ง renin มากขึ้น
ทำให้ที่ afferent arteriole และ efferent arteriole หดตัวลด renal blood flow (RBF)
Renal tubule ดูดกลับ Na เพิ่มขึ้น
ท่อไต
กระเพาะปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะ
อาการและอาการแสดงของ BPH
รู้สึกฉี่ไม่สุด ทำให้อยากฉี่เรื่อยๆ
ภาวะไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้
ปัสสาวะบ่อย ห่างกันไม่เกิน 2 hrs.
ต้องเบ่งหรือรอนานกว่าจะสามารถปัสสาวะออกได้
การรักษา BPH
Alpha-a Adrenergic blockers : คลายกล้ามเนื้อเรียบที่คอกระเพาะปัสสาวะและต่อมลูกหมากโต
5 alpha-reductase inhibitor : ต้านฮอร์โมนเพศชาย เมื่อใช้ต้องดู PSA ด้วยเนื่องจากยาเสี่ยงต่อมะเร็งต่อมลูกหมากมากขึ้น
การทำงานของกระเพาะปัสสาวะ
การขับถ่ายปัสสาวะ
ยับยั้ง
หูรูด
กระตุ้น
หดตัว
โรคไตวาย (Renal failure)
acute renal failure (Acute kidney injury : AKI)
สาเหตุ
Prerenal AKI : พบบ่อยสุด เกิดจากปริมาณเลือดไปเลี้ยงไตลดลง (renal ischemia) เช่น ภาวะ hypovolemic, hemorrhage, low cardiac output
Chronic renal failure : CRF
สาเหตุ
Intrarenal AKI : เกิดพยาธิสภาพที่หน่วยไต โกลเมอรลูลัสถูกทำลาย เช่น จาก SLE, ยา โรคเนื้อเยื่อไตอักเสบ (acute interstitial nephritis : AIN) หลอดเลือดฝอยในไตอักเสบ (Glomerulonephritis) ที่เกิดบ่อยจาก SLE โรคคที่มีการตายเซลล์ tubule ที่ไต (acute tubular necrosis : ATN) : renal tubule ขาดเลือดเซลล์ถูกทำลาย,การหลั่ง endotoxin จากติดเชื้อ,ยาเคมีบำบัด,ยาปฎิชีวนะ
ภาวะไตวายเป็นภาวะที่สูญเสียหน้าที่ของไตไม่สามารถรักษาความสมดุลของน้ำ กรด-ด่าง อิเล็โทรไลต์ของหน้าที่อยู่นอกเซลล์ (Extracellular fluid) รวมทั้งการทำหน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนลดลง ขับของเสียลดลง ทำให้เกิดการคั่งของของเสียมากขึ้น แบ่งได้ 2 ชนิด
นิ่วในไต (Renal calculi)
สาเหตุ
Ca พบร้อยละ 90 สาเหตุเกิดจากการสลายกระดูกจากการไม่เคลื่อนไหว ภาวะ hyperparathyroidism, renal tubular acidosis ทำให้การดูดซึม Ca ไม่ได้
Uricacid เป็นกรดพบในโรคเก๊าท์ (Gout) เกิดจากการรับประทานอาหารพิวรีนสูง
Cystine มักเกิดจากกรรมพันธุ์ผิดปกติในการขนส่งซีสทีนของไต
Mg (Struvite) ปัสสาวะเป็นด่าง,มีเชื้อแบคทีเรียผลิต urease enzyme เพื่อเปลี่ยนแอมโมเนียและยูเรีย
ชื่อนางสาวภรัณยา สงวนรัตน์ เลขที่ 68 รหัสนักศึกษา 65117301069