Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pattsorn 5, นางสาวภัสสร วิชัยดิษฐ รหัส 2669001428 - Coggle Diagram
Pattsorn 5
แนวคิดเกี่ยวกับองค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย ความสำคัญ
หน่วยงานหรือกลุ่มบุคคลที่ร่วมกันทำงานให้บรรลุเป้าหมายเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ความสำคัญ
เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมปัญหาและความต้องการของประชาชน
เป็นแหล่งของความรู้ข่าวสาร เทคโนโลยี
ทำให้การดำเนินงานในชุมชนและการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทและบทบาท
ประเภท
องค์กรพัฒนาของรัฐ
องค์กรภาครัฐ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กระทรวงกลาโหม
กระทรวงพาณิชย์
กระทรวงศึกษาธิการ
รัฐวิสาหกิจ
องค์กรนอกภาครัฐ
องค์การอาสามัครเอกชน
องค์กรชุมชน หรือองค์กรประชาชน
องค์กรแบบเป็นทางการ
กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตร
องค์กรแบบไม่เป็นทางการ
องค์กรที่มีการรวมกันของชาวบ้าที่สนใจในเรื่องเดียวกันหรือความต้องการเหมือนกัน
องค์กรภาคเอกชน
องค์กรที่แสวงหากำไร
CP เจียไต๋ เบทาโกร
สถาบันการเงินของเอกชน กสิกรไทย ทหารไทย กรุงเทพ
องค์กรที่ไม่เเสวงหากำไร
องค์กรพัฒนาเอกชน
มูลนิธิ สมาคม ชมรม เช่น มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธิเพื่อนร่วมพัฒนา
ประชารัฐ
รวมตัวกันทุกส่วนของประชาและรัฐ
บทบาทขององค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
Welfare State Theory ทฤษฎีสวัสดิการ
Heterogeneity Theory ทฤษฎีความหลากหลาย
Social Entrepreneur ผู้ประกอบการเพื่อสังคม
Civil Society Theory ทฤษฎีประชาสังคม
ผลกระทบขององค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมการเกษตร
การเรียนรู้ของบุคคลเป้าหมาย
การมีส่วนร่วม
การพึ่งตนเอง
การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
การพัฒนานโยบายการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์กรพัฒนากับกระบวนทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร
ความหมาย และความสำคัญ
กรอบรวมของฐานคิด
ความสำคัญ
กำหนดโครงสร้างด้านการบริหารองค์กร
การสร้างแนวนโยบาย
การปรับเปลี่ยนกระบวนการคิกและการปฏิบัติงาน
การปรับเปลี่ยนเทคนิคในการทำงาน
กระบวนทัศน์ที่เหมาะสมในการส่งเสริมพัฒนาการเกษตร
การให้คุณค่า
เศรษฐกิจ
การเมืองการปกครอง
ระบบสังคม
ธรรมชาติ
ความรู้
กระบวนทัศน์กับกลยุทธ์และกลไกหารส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนทัศน์กับกลยุทธ์
กลยุทธ์ของการส่งเสริมการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์หลัก
กลยุทธ์ที่เหมาะสมของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ทางเลือก
กระบวนทัศน์กับกลไก
กลไกที่เหมาะสม
กลไกระดับกระทรวงและกรม
กลไกระดับพื้นที่หรือภูมิภาค
กลไกระดับท้องถิ่น
กลไกระดับพื้นที่เฉพาะ
การเสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง
การวินิจฉัยสถานการณ์
การแสวงหาเทคนิคหรือวิธีการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
การบริหารองค์กรพัฒนา
การติดตามและประเมินผล
องค์กรพัฒนากับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การวิเคราะห์จุดอ่อนของชุมชน
ลักษณะความเข้มแข็งของชุมชน
ยุทธศาสต์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน
หน้าที่ขององค์กรพัฒนาในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การรวมกลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
หลักการและขั้นตอนในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ
หลักการ
เน้นกระบวนการพัฒนาส่งเสริมทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร
ประสานเป้าหมายและตอบสนองเป้าหมายร่วมกัน
ดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาการทำงานเป็นทีม
การสร้างบรรยากาศที่ดีในองค์กร
ใช้วิธีการผสมผาน
มีแม่แบบที่ต้องการ
ขั้นตอนการเสริมสร้างประสิทธิภาพ
1.กำหนดแม่แบบขององค์กรพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ
2.วิเคราะห์ปัญหาและความจำเป็นขององค์กรพัฒนา
3.สำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องขององค์กรพัฒนา
4.ยืนยันผลที่ได้
5.กำหนดกลยุทธ์ในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ
6.กำหนดแผนปฏิบัติการ
7.ปฏิบัติตามแผน
8.ประเมินผลและรายงาน
วิธีการเงื่อนไขความสำเร็จ
วิธีการ
วิธีการเสริมสร้างทรัพยากรบุคคล
ฝึกอบรม /ศึกษาดูงาน
วิเคราะห์และพัฒนาตนเอง
ฝึกทักษะเฉพาะ
การให้คำปรึกษา
การสอนงาน
การหมุนเวียนงาน
การสร้างทีมงาน
การประชุม
การรายงาน
การจูงใจ
การสร้างบรรยากาศ
วิธีการเสริมสร้างองค์กรพัฒนา
การจัดโครงสร้างองค์กร
การออกแบบงานให้เหมาะสม
การเลือกสรรบุคคลากรอย่างมีคุณภาพ
กำหนดเวลาทำงานแบบยืดหยุ่น
ความพร้อมของเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์
การสำรวจข้อมูลและป้อนข้อมูลย้อนกลับ
การวิจัยแก้ปัญหา
การสร้างองค์กรแม่แบบ
พันธมิตรขององค์กร
สร้างระบบงานที่มีคุณภาพ
สร้างระบบการสื่อสารที่ดี
ระเบียบปฏิบัติที่เหมาะสม
การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
สร้างแรงผลักดันให้องค์กร
การบริหารทรัพยากรอย่างมีคุณค่า
เงื่อนไขความสำเร็จ
ความรู้ควาสามารถและความตั้งใจจริงของฝ่ายบริหาร
ความพร้อมและความตั้งใจจริงของฝ่ายปฏิบัติ
การสนับสนุนเอื้ออำนวยขององค์กร
ความเหมาะสมสอดคล้องกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
การใช้เทคนิควิธีการที่เหมาะสม
การดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
การมีระบบข้อมูลที่เป็นแระโยชน์
การมีระบบที่ปรึกษาสนับสนุน
นางสาวภัสสร วิชัยดิษฐ รหัส 2669001428