Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการความรู้วิชาชีพครู - Coggle Diagram
การจัดการความรู้วิชาชีพครู
การจัดการความรู้วิชาชีพครู
๑. การกำหนดความรู้ที่จำเป็นหรือสำคัญต่องานหรือต่อหน่วยงาน
๒. การแสวงหาความรู้ที่ต้องการ
๓. การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้เพิ่มเติมได้เหมาะสมกับการใช้งาน
๔. การประยุกต์ใช้ความรู้ใช้ในการทำงาน
๕. การสกัดองค์ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์และการแลกเปลี่ยนความรู้
๖. การบันทึกความรู้และปรับปรุงให้เหมาะสมต่อการใช้ดำเนินงานยิ่งขึ้น
การจัดการความรู้เป็นการสร้างความรู้และแบ่งปันความรู้จากการดำเนินงานซึ่งจะต้องสร้างและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้องค์กรสามารถดำเนินงานบรรลุเป้าหมายและบุคลากรได้รับประโยชน์สูงสุด ในกรณีการจัดการความรู้ของโรงเรียนถ้าสามารถดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพจะมีผลดี ดังนี้
๑) โรงเรียนจะได้รับการพัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้นสามารถดำเนินงานให้เหมาะสมสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงและแนวการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ
๒) โรงเรียนมีมาตรฐานและคุณภาพการจัดการศึกษาสูงขึ้น เป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการซึ่งได้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน
๓) โรงเรียนเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง รวมทั้งมีบรรยากาศที่ดีในการดำเนินงาน
๔) ครู ผู้บริหารได้รับการพัฒนาให้มีความชำนาญและมีความเชี่ยวชาญ เพิ่มสูงขึ้น
บทบาทของครูในการจัดการความรู้
๑. บทบาทในการจัดการความรู้ของตนเอง เป็นการจัดการความรู้ในระดับบุคคล ในฐานะผู้นำในการจัดการเรียน การสอนและทำงานร่วมกับผู้เรียน ครูผู้อื่นในโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน และชุมชน
๒. บทบาทในการจัดการความรู้ในชั้นเรียน เป็นการจัดการความรู้ร่วมกับผู้เรียนในชั้นเรียน โดยเป็นผู้นำ ผู้สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดกระบวนการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน
๓. บทบาทในการจัดการความรู้ของโรงเรียน เป็นการจัดการความรู้ระดับองค์กร โดยร่วมมือกับผู้บริหารโรงเรียน คณะครู และนักเรียน เพื่อให้โรงเรียนเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
๔. บทบาทในการจัดการความรู้ในชุมชน เนื่องจากโรงเรียนเป็นองค์กรที่มีความสำคัญในการจัดการศึกษาเพื่อสนองความต้องการของชุมชน รวมทั้งมีบทบาทในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนครูจึงมีบทบาทร่วมกับโรงเรียนในการจัดการความรู้ในชุมชน
เทคนิคในการจัดการความรู้ของครู
๒) ขั้นการแสวงหาความรู้
๓) ขั้นการสร้างความรู้
๑) ขั้นการกำหนดความรู้
๔) ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๔) ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๖) ขั้นการนำความรู้ไปใช้
องค์ประกอบและตัวบ่งชี้การจัดการความรู้ของครู
๑. องค์ประกอบด้านการกำหนดความรู้
๒. องค์ประกอบด้านการแสวงหาความรู้
๓. องค์ประกอบด้านการสร้างความรู้
๔. องค์ประกอบด้านการแลกเปลี่ยนความรู้ มีตัวบ่งชี้สำคัญ
๕. องค์ประกอบด้านการเก็บความรู้ มีตัวบ่งชี้สำคัญ
๖. องค์ประกอบด้านการนำความรู้ไปใช้