Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ส่วนประสมทางการตลาด ด้านการส่งเสริมการตลาด - Coggle Diagram
ส่วนประสมทางการตลาด
ด้านการส่งเสริมการตลาด
ส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด (Promotion Mix)
การโฆษณา (Advertising) เป็นการสื่อสารของผู้ขายผ่านสื่อสาธารณะ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารจูงใจหรือตอกยํ้าใน
ตรายี่ห้อของผลิตภัณฑ์โดยผู้ที่ต้องการสื่อสารเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทางด้านสื่อโฆษณา
การขายโดยพนักงาน (Personal Selling) การสื่อสารทางตรงโดยการเผชิญหน้าระหว่างผู้ขายและผู้มุ่งหวัง (การสื่อสารแบบ 2 ทาง)
การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion) เป็นการสื่อสารเพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อสินค้าในช่วงเวลาที่จํากัดซึ่งต่างจากโฆษณาที่อาจไม่ได้มุ่งเน้นให้เกิดการซื้อสินค้าทันที
การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์ (Publicity and Public Relation) เป็นการสื่อสารที่ไม่ได้มุ่งเน้นในการขายสินค้าอย่างการโฆษณาหรือการส่งเสริมการขาย แต่มุ่งที่การสร้างภาพพจน
การตลาดทางตรง (Direct Marketing) เป็นการสื่อสารโดยตรงจากผู้ส่ง สารไปยังผู้รับสารในลักษณะการสื่อสารสองทางที่ผู้รับสารสามารถพูดคุย สอบถามหรือสั่งซื้อสินค้าโดยตรงกับผู้ส่งสาร ซึ่งการ
สื่อสารในอดีตนิยมทําผ่านสื่อตรง
กระบวนการสื่อสาร (Communication Process)
ผู้ส่งสาร
เข้ารหัส
ข่าวสาร
ถอดรหัส
ผู้รับสาร
ตอบสนอง
ผลสะท้อนกลับ
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร
1) แหล่งสารหรือผู้ส่งสาร แหล่งสารอาจเป็นบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มบุคคลที่อาจทํางานร่วมกันเป็นองค์กรโดยทําหน้าที่สื่อสารโดยการ
พูด เขียน หรือแสดงกิริยาท่าทางให้บุคคลอื่นหรือองค์กรอื่น ๆ
2) ข่าวสารหรือสาร หมายถึง สิ่งเร้าที่แหล่งสารหรือผู้ส่งสารส่งออกไปยังผู้อื่น ๆ หรือองค์กรอื่น ๆ มีลักษณะเป็นสัญญาณที่ผู้รับสามารถ
ถอดรหัสและแปลหรือเข้าใจได
3) ช่องทางข่าวสาร เป็นเส้นทางหรือพาหะในการลําเลียงข่าวสาร ซึ่งอาจอยู่ในรูปของคลื่นแสง คลื่นเสียงหรือสื่อในการสื่อสาร เช่น
วิทยุโทรทัศน์วิทยุกระจายเสียง หนังสือพิมพ์เป็นต้น
4) ผู้รับสาร ผู้รับสารอาจเป็นบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มบุคคลหรืออาจเป็นองค์กร ผู้รับสารจะทําหน้าที่รับข่าวสารได้ดีเพียงใดขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยในตัวผู้รับสารอันได้แก่ ทักษะในการสื่อสารซึ่งเป็นความสามารถในการอ่าน ฟัง
5) ผลการสื่อสาร ผลการสื่อสารอาจเป็นไปได้ในทางลบและทางบวกอาจเรียกได้ว่า เป็นความรู้สึก ความคิดเห็นต่อแหล่งสาร ข่าวสาร
ช่องทางข่าวสารของผู้รับสาร
6) การป้อนกลับหรือการสนองตอบ เป็นการแสดงโต้ตอบต่อสารที่ส่งมา และการโต้ตอบซึ่งกันและกันผู้รับสารอาจแสดงออกถึงการโต้
แย้งหรืออาจสนับสนุนต่อแหล่งสาร ข่าวสาร ตามผลการสื่อสารที่เกิดขึ้นเพื่อทําให้แหล่งสารหรือผู้รับสารรับรู้ถึงทัศนะของผู้รับสาร
วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการตลาด (Objectives of Promotion)
เพื่อสื่อข้อมูลข่าวสารไปยังกลุ่มเป้าหมาย
เพื่อเปลี่ยนลักษณะความต้องการของผู้บริโภค
เพื่อสอดคล้องกับส่วนประสมทางการตลาดตัวอื่น ๆ
ปัจจัยที่มีผลต่อการกําหนดส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด (Factors Influencing the
Promotional Mix)
ลักษณะตลาดเป้าหมาย
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ (Nature of Product)
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle)
งบประมาณ (Fund)
การจัดสรรงบประมาณสําหรับการส่งเสริมการตลาด (The Promotion Budget)
กําหนดตามยอดขาย (Relation to Sales)
กําหนดตามคู่แข่งขัน (Relation to Competition)
กําหนดตามเงินทุนที่มีอยู่ (All Available Funds)
กําหนดตามวัตถุประสงค์และงานที่ทํา (Task and Objectives)
ประเภทของการโฆษณา (Types of Advertising)
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการโฆษณา
1.1 โฆษณาผลิตภัณฑ์
1.2 โฆษณาสถาบัน (Institution Advertising)
1.3 โฆษณาส่งเสริมสังคม (Public Service Advertising)
การโฆษณาแบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย
การโฆษณาแบ่งตามสื่อโฆษณา
การโฆษณาแบ่งตามภูมิศาสตร
กระบวนการขาย (selling process)
การเสาะแสวงหาผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้า (The prospecting)
การเตรียมการก่อนเข้าพบลูกค้า (The preapproach)
การเข้าพบลูกค้า (The approach)
การเสนอขายและสาธิตการขาย (The presentation and demonstration)
การจัดการกับข้อโต้แย้ง (The objection)
การปิดการขาย (The closing)
การติดตามผลและดูแลลูกค้า (The follow-up)
การประชาสัมพันธ์และกิจกรรมพิเศษทางการตลาด (Public Relation and Event Marketing)
วัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์ท (Public Relation Objectives)
สร้างภาพพจน์ที่ดี
ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
สร้างความน่าเชื่อถือ
ประเภทของการประชาสัมพันธ์ (Type of Public Relation)
ประชาสัมพันธ์เชิงรุก (Proactive PR)
ประชาสัมพันธ์เชิงรับ (Reactive PR)
กิจกรรมพิเศษทางการตลาด (Event Marketing)
วัตถุประสงค์ของการจัดการกิจกรรมพิเศษ (Event Marketing Objectives)
สร้างความรู้จักในตรายี่ห้อ (Brand Awareness)
ให้ข้อมูล ความรู้ในตัวผลิตภัณฑ์ (Product Knowledge)
เตือนความทรงจําในตรายี่ห้อ (Brand Recognition)
สร้างภาพพจน์ต่อสินค้า และองค์กร (Brand Image)
ลักษณะของกิจกรรมพิเศษ (How to Create good Event Marketing)
กิจกรรมที่ชัดเจน เหมาะสม สอดคล้องกับความสนใจของกลุ่มเป้าหมาย
ช่วยทําให้ตราสินค้าแข็งแกร่งในระยะยาว
สอดคล้องกับกิจกรรมทางการตลาดและภาพลักษณ์ของบริษัท
สามารถดําเนินการได้ในระยะเหมาะสมไม่สั้นไม่ยาวเกินไป
การตลาดทางตรง (Direct Marketing)
วัตถุประสงค์ของการตลาดทางตรง (Direct Marketing Objectives)
เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า
เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลทางการตลาด
เพื่อให้ข่าวสารข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมาย
เพื่อการจําหน่ายผลิตภัณฑ์
กระบวนการขาย (Selling Process)
การแสวงหาลูกค้า
คนใกล้ตัว แหล่งข้อมูลทั่วไป เทคนิคโซ่ไม่มีปลาย ใช้ศูนย์อิทธิพล
เตรียมตัวก่อนเข้าพบลูกค้า
เข้าพบเพื่อเสนอขาย AIDA Attention
ขั้นปิดการขาย
ติดตามและบริการหลังการขาย