Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case conference (ระยะคลอด) - Coggle Diagram
Case conference (ระยะคลอด)
ข้อมูลพื้นฐานและประวัติทางสูติกรรม
หญิงตั้งครรภ์ G1P0 GA 39+1 weeks by date LMP 06/01/2566 EDC 13/10/2566 ฝากครรภ์ที่ คลินิกที่ภูเก็ต จำนวน 5 ครั้ง ฝากครรภ์ที่ โรงพยาบาลตำรวจ จำนวน 5 ครั้ง ได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยัก 2 เข็ม ที่คลินิกภูเก็ต 1 เข็ม ที่โรงพยาบาลตำรวจ 1 เข็ม GDM รักษาที่โรงพยาบาลเพชรเวช แพทย์แจ้งว่า Diet control ไม่ดี Dx: GDMA1
ANC
DM
-Glucose50gm 157 mg/dL -Glucose(UA) 3+ -OGTT 121,80,169,189 Dx: GDMA1
Thalassemia
Hb 10.9 g/dL Hct 33.2 % MCV 87.4 Hb typing A2A A2 1.4 %
Serology
VDRL non- reactive Anti-HIV non- reactive HBsAg negative
Down sysdrome
-NTD 1in3,700
-Down’s 1in17,000
HT
-BP SBP 117-130 DBP 68-83 mmHg
-Albumin(UA) Negative
LR
แรกรับ
G1P0000 GA 39+1 wks. by date มา รพ.ด้วยอาการ เจ็บครรภ์คลอด เวลา 8.00 น. ไม่มีมูกเลือดออกทางช่องคลอด ประเมินอาการแรกรับ วันที่ 7/10/66 เวลา 12:45 น.
-น้ำหนักปัจจุบัน 74.9 กก. จาก 56 กก.น้ำหนักเพิ่มขึ้น 18.9 กก.
-PV ปากมดลูกเปิด 4 cm.Effacement 100%, Station -1, Membrane Ruptured clear
-สัญญาณชีพ T= 36.6 C P= 80 bpm. RR= 18 bpm.BP=130/89 mmHg. Pain score= 8 คะแนน, O2 sat= 99%
-ผลตรวจร่างกาย ไม่ซีด ไม่มีบวม ต่อมไทรอยด์ไม่โต(ปกติ) เต้านมหัวนมปกติ ไม่บอดไม่บุ๋ม
-ผลตรวจครรภ์ 3/4 >ระดับสะดือ, Vertex presentation, Head engagement, Left Occiput Anterior, FHS ข้างซ้าย = 146 bpm
-ผลตรวจการหดรัดตัวของมดลูก I=5’ D=30’’ Int ++
-ผลตรวจปัสสาวะ urine albumin/sugar = Negative/ Negative
การเตรียมผู้คลอดShave perineum และ Fleet enema ให้คนไข้
ระยะที่1
ระยะที่ 1 ของการคลอด ตั้งแต่เจ็บครรภ์จริง เวลา 08.00 น. ถึงปากมดลูกเปิดหมด เวลา 16.20 น. รวมเวลา 8 ชั่วโมง 20 นาที แบ่งเป็น
-ระยะ Latent Phase นับตั้งแต่เจ็บครรภ์จริง จนปากมดลูกเปิด 3 cm. เจ็บครรภ์จริงเวลาเวลา 08.00 น. เนื่องจากแรกรับผู้ป่วยปากมดลูกเปิด 4 cm. เข้าสู่ระยะ Active Phase แล้ว
-ระยะ Active Phase ตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 4 cm. เวลา 12.45 น. ถึงปากมดลูกเปิดหมด เวลา 16.20 น. รวมเวลาระยะ Active Phase 3 ชั่วโมง 35 นาที
ระยะที่2
-เวลา 16.20 น. Fully dilatation มารดารู้สึกอยากเบ่ง สอนเบ่งคลอด
-เวลา 16.20 น. ย้ายมารดาเข้าห้องคลอด
-เวลา 16.33 น. คลอด Normal labor ตัดฝีเย็บแบบ Right Mediolateral Episiotomy ทารกเพศ ชาย น้ำหนัก = 3,190 gm. Apgar score ที่ 1 นาที= 9 คะแนน, ที่ 5 นาที= 10 คะแนน ที่ 10 นาที = 10 คะแนนมารดามีอาการเจ็บครรภ์และทารกไม่มีอาการผิดปกติ
ระยะที่ 2 ของการคลอด ตั้งแต่ปากมดลูกเปิดหมด เวลา16.20 น. จนถึงทารกคลอด เวลา 16.33 น.
ใช้เวลา 13 นาที
ระยะที่3
ระยะที่ 3 ของการคลอด ตั้งแต่ทารกคลอดเวลา 16.33 น. ถึงรกคลอดเวลา 16.40 น. ใช้เวลา 7 นาที
-เวลา 16.40 น. รกคลอด รกลอกตัวแบบ Schultze's Method คลอดรกด้วยวิธี Control Cord Traction น้ำหนักรก 580 gm ประเมินการฉีกขาดของแผลฝีเย็บอยู่ในระดับ 2nd Degree Tear Estimated blood loss = 200 ml.
-สัญญาณชีพ: หลังทารกคลอด เวลา 16.33 น. BP= 134/82 mmHg. P=84 ครั้ง/นาที หลังรกคลอด เวลา 16.40 น. BP= 125/77 mmHg. P=78 ครั้ง/นาที
-มารดาไม่มีอาการผิดปกติ
ระยะที่4
ระยะที่ 4 ของการคลอด ตั้งแต่รกคลอดเวลา 16.40 น. ถึงครบกำหนด 2 ชั่วโมงหลังคลอด เวลา
18.30 น. ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 50 นาที
-รับย้ายจากห้องคลอดเวลา 17.00 น. มารดามีอาการ อ่อนเพลียจากการขาดสารน้ำและสารอาหารจากการคลอด ดูแลให้พักผ่อนบนเตียงได้รับน้ำและอาหาร เวลา 17.10 น. ได้รับยาแก้ปวด Paracetamol (500) 1 tab po prn ทุก 4-6 hrs for fever and pain เวลา 17.15 น. -สัญญาณชีพ หลังทารกคลอด เวลา 16.33 น. BP= 134/82 mmHg. P=84 ครั้ง/นาที หลังรกคลอด เวลา 16.40 น. BP= 125/77 mmHg. P=86 ครั้ง/นาที
-การหดรัดของมดลูก มดลูกหดรัดตัวดี กลมแข็ง ลอยตัวอยู่ระดับสะดือ วัดยอดมดลูก 5 นิ้ว
-แผลฝีเย็บ แผลไม่แดง ไม่บวม ไม่มีเลือดคั่ง ไม่มีสารคัดหลั่งซึมบริเวณแผล แผลชิด (ประเมินตามหลัก REEDA)
-Bleeding per vagina 20 ml. เปลี่ยนผ้าอนามัย 1 แผ่น
-มารดาปัสสาวะได้เอง 0 ครั้ง ไม่ได้สวนปัสสาวะ
-on IV Fluid Acetar + Syntocinon 20 unit IV drip เหลือ 450 ml.
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ระยะที่1
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ไม่สุขสบายเจ็บครรภ์เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวถี่
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยพลิกตะแคงตัวไปมา บ่นว่าปวดมาก
-การหดรัดตัวของมดลูก I= 3′ D = 30′′ Int = ++
วัตถุประสงค์
บรรเทาอาการเจ็บครรภ์สามารถเผชิญกับความเจ็บปวดอย่างเหมาะสมและป้องกันอุบัติเหตุขณะเจ็บครรภ์
เกณฑ์การประเมินผล
1.มารดาสามารถปรับตัวเข้ากับความเจ็บปวดได้
2.ไม่เกิดอันตราย บาดเจ็บ หรือตกเตียง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและความรุนแรงของการเจ็บครรภ์
2.แนะนำให้นอนในท่าที่สบาย หรือ นอนตะแคงซ้าย
3.สอนเทคนิคการหายใจผ่อนคลายความเจ็บปวด
4.ลูบหน้าท้องหรือนวดหลังช่วยลดความเจ็บปวด
5.ดูแลสิ่งแวดล้อม ยกไม้กั้นเตียงขึ้น
6.อธิบายให้มารดาทราบว่าการเจ็บครรภ์เป็นสิ่งปกติที่เกิดขึ้นทำให้ปากมดลูกเปิดมากขึ้นและความก้าวหน้าของการคลอดดีขึ้น
การประเมินผล
1.มารดาทนต่ออาการเจ็บครรภ์ได้มากขึ้นขณะที่มดลูกบีบตัวและ สามารถใช้เทคนิคการผ่อนคลายความเจ็บปวดได้ สามารถปรับตัวเข้ากับความเจ็บปวดได้
2.ไม่เกิดอันตราย บาดเจ็บ หรือตกเตียง
ระยะที่2
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ส่งเสริมให้ระยะที่2ของการคลอดดำเนินไปตามปกติ
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยอยากเบ่ง
-การหดรัดตัวของมดลูก I = 2′ D = 30′′ Int = ++
-cervix fully dilated Eff = 100%
-G1P0 GA39+1wks
วัตถุประสงค์
-เพื่อให้ระยะที่ 2 ของการคลอดดำเนินไปตามปกติ
-เพื่อให้ทารกปลอดภัยขณะคลอด
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้คลอดเบ่งคลอดได้ถูกวิธี คลอดได้ปกติ
2.ทารกไม่เกิดอันตราย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน FHS q 10-15 min
ประเมิน UC q 15 min
ดูแลให้เบ่งคลอดอย่างมี ประสิทธิภาพ
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
สังเกตอาการผิดปกติของการคลอด
7 . เชียร์เบ่งให้มารดาเบ่งคลอดอย่างถูกวิธีจนศีรษะทารคลอดออก
ดูแลความสุขสบายของผู้คลอด
หลังจากทารกคลอด ให้ Syntocinon 10 unit IM
ประเมินผล
1.ผู้คลอดเบ่งอย่างถูกวิธีคลอดได้อย่างปลอดภัย
2.ทารกคลอดอย่างปลอดภัย
ระยะที่3
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ส่งเสริมให้ระยะที่3ของการคลอดดำเนินไปตามปกติ
ข้อมูลสนับสนุน
-ทารกคลอดเวลา16.33น.
-มดลูกหดรัดตัวดี
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ระยะที่3ของการคลอดดำเนินไปตามปกติ
เกณฑ์การประเมินผล
1.รกคลอดสมบูรณ์ภายในเวลา30นาที
2.สัญญาณชีพปกติ
3.มดลูกหดรัดตัวดี กลมแข็ง มีเลือดไหลออกทางช่องคลอดไม่เกิน500ml
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน sign รกลอกตัว + cord test
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ทำคลอดรกอย่างถูกวิธี โดยวิธี control cord traction
หลังรกคลอด ให้ยา Syntocinon 20 u ในIV และMethergine 0.2 mg IV stat ตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินอาการตกเลือดหลังคลอด คลึงมดลูกไล่ blood clot
ตรวจรกและเยื่อหุ้มทารกอย่างละเอียด
ประเมินผล
1.รกลอกตัวครบสมบูรณ์ภายใน 30 นาที
2.สัญญาณชีพปกติ BP 125/77 mmHg P 86 bpm
3.Estimate blood loss 200 ml
4.ระยะที่3ของการคลอดใช้เวาลา7นาที
ระยะที่4
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีโอกาสเกิดการตกเลือดหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
-คลอด Normal labor
-แผลฝีเย็บ RML episiotomy 2 degree tear
-Estimate blood loss 200 ml
-ทารกคลอดเวลา16.33น.
-มดลูกหดรัดตัวดี
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
เกณฑ์การประเมินผล
1.ระดับยอดมดลูกอยู่ต่ำกว่าระดับสะดือ
2.มดลูกหดรัดตัวลักษณะเป็นก้อนกลมแข็ง
3.V/S ปกติ
4.ไม่มีอาการเสียเลือดมาก เช่น ซีด อ่อนเพลีย ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตลดลง หายใจเร็ว
2 ชั่วโมงหลังคลอดน้ำคาวปลาออกไม่เกิน 100 m
6.กระเพาะปัสสาวะไม่มีน้ำปัสสาวะคั่ง
กิจกรรมการพยาบาล
ตรวจสอบความสูงของระดับยอดมดลูกและการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที
ประเมิน V/S q 15 min 4 ครั้ง ในชม.แรกและ q 30 min ในชม.ที่สอง
ตรวจดูปริมาณน้ำคาวปลา q 30 min
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ตรวจช่องทางคลอดและสิ่งตกค้างในช่องคลอด
ดูแลให้มารดา Bed rest
ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
การประเมินผล
3.V/S ปกติ
2 ชมหลังคลอด Estimate blood loss = 20 ml
2.มดลูกหดรัดตัวลักษณะเป็นก้อนกลมแข็ง
ไม่มี Bladder full
1.ระดับยอดมดลูกอยู่ต่ำกว่าระดับสะดือ