Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 13 Dx.Triple vassel disease - Coggle Diagram
เตียง 13 Dx.Triple vassel disease
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 56 ปี DX. TVD (triple vessel disease) หรือ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน
ก่อนมาผู้ป่วยมีอาการ เหนื่อย แน่นหน้าอก ใจสั่น
ประวัติการเจ็บป่วยเดิม
heart failure with reduced EF (HFREF) : หัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องซ้ายล่าง (left ventricle) ลดลง
โรคเบาหวาน (Diabetes) type 2
โรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Renal Disease: ESRD)
ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertension)
โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
พ.ย. 2564 เดิมผู้ป่วยเคยทำ CAG พบ TVD
11 พ.ย. 2565 แพทย์นัดทำ RCI (Percutaneous Coronary Intervention) การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูนและใส่ขดลวด
หลอดเลือดใหญ่ส่วนต้น ( left main [ LM ] )
ใส่ ลวด XIENCE PRO 3.5x23 (LM-LAD)
หลอดเลือดหัวใจด้านซ้ายหน้า ( left anterior descending [ LAD ] )
ใส่ ลวด XIENCE PRO 2.5x23 (mLAD)
หลอดเลือดหัวใจด้านซ้ายข้าง ( left circumflex [ LCX ] )
ใส่ ลวด XIENCE PRO 2.7x23 (LCX)
23 เม.ย. 66 แพทย์นัดทำ PCI RCA(Right coronary artery)
ใส่ fix lag 2.7x38 at PLC ฉีด Re look LM พบ in STENT ทำ PCBA ไป pust re look อีกคร้ง
การพยาบาลผู้ป่วยหลังการสวนหัวใจ
ดูแล bleeding
เนื่องจากมีการใช้ heparin
Obs. Hematoma
นอนหงาย เหยียดขา ห้ามงอ เนื่องจากจะยิ่งไปเพิ่มแรงดัน ทำให้เลือดออกนอกหลอดเลือดได้
อาการปวดบริเวณที่ทำหัตถการ
ถ้ามีอาการปวด บวม ชา เลือดซึมที่แผล หรือปลายมือ ปลายเท้าข้างที่ทำซีดหรือเย็น ให้รีบแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล)
ประเมินการไหลเวียนเลือด
คลำชีพจรสวนปลาย หลังเท้า (dorsal pedi pulse) หรือ บริเวณ posterior tibial
อาจเกิดการอุดตัน มีลิ่มเลือด ทำให้เลือดไม่ไปเลี้ยงส่วนปลาย
สังเกตอาการแพ้อาหารทะเล เนื่องจากในสารทึบรังสีมีส่วนประกอบของไอโอดีน
Contrast
ไปกรองที่ไต กระตุ้นให้ คนไข้ดื่มน้ำ เพื่อขับสารทึบรังสี
F/u creatinine
ในผู้ป่วยที่มีค่าการทำงานของไตเสื่อมอยู่ก่อนแล้ว หรือมีการใช้สารทีบรังปริมาณมาก จะมีการเจาะเลือดตรวจติดตามค่าการทำงานของไตด้วยสามารถทานยาเดิมได้ตามปกติ รวมถึงยาต้านเกล็ดเลือด ยาละลายลิ่มเลือด ยาบางอย่างต้องหยุดต่ออีก 1-2 วัน เพื่อให้แน่ใจว่าค่าการทำงานของไตยังปกติดี เช่น ยาเบาหวานเมตฟอร์มิน
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
เตรียมร่างกาย
ทำความสะอาดร่างกายบริเวณหรือตำแหน่งที่จะทำ โกนขนบริเวณข้อพับทั้งสองข้าง และ แขนทั้งสองข้าง
NPO เว้นยา 6 ชั่วโมง ก่อนทำ เพราะสารทึบแสงที่ใช้ในระหว่างสวนหัวใจอาจทำให้คลื่นไส้อาเจียน
เตรียมจิตใจ
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจการทำการรักษา
สอนให้ผู้ป่วยปฎิบัติตัวหลังจากการทำการรักษาเสร็จสิ้น
ดูแลให้ได้รับยาก่อนการทำหัตถการ 30 นาทีก่อนทำ cath lab
Antihistamine 4 mg 1 tab oral เพื่อป้องกันการคลื่นไส้อาเจียนจากสารทึบแสง
Diazepam 2 mg 1 tab oral เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย
ลดความวิตกกังวล
ติดตามผลทางห้องปฎิบัติการ
Flim chest
CBC, FBS, BUN, Crea, E'lyte
PT, PTT Anti HIV, Hbs Ag, UDRL
Lipid profile
Anti HCV
การดูแลผู้ป่วยก่อนการจำหน่าย
แนะนำลดปัจจัยเสี่ยง เช่น การรับประทานอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม
ระวังเรื่อง bleeding การรับทานยา NSAID, Ginkgo(แป๊ะก๊วย)ทำให้เลือดออกง่าย ห้ามกินกับยาละลายลิ่มเลือด ASA plavix
อมยาใต้ลิ้น ; Nritate isodil 5 mg อม ครั้งละ 1 เม็ด ห่างกัน 5 นาที ไม่เกิน 3 เม็ด
การทำ Coronary Angiography
แบ่งออกเป็น
การสวนหัวใจด้านขวา (Right sided cardiac cathehterization)
การสวนหัวใจด้านซ้าย (Left sided cardiac cathehterization)
ใส่สายสวนเข้าไปที่ขาหนีบ (Femoral artery) เข้าไปใน venticle ซ้าย
เป็นการตรวจวินิจฉัยก่อนการผ่าตัด เพื่อดูตำแหน่งหลอดเลือด coronary ที่มีการตีบตัน
คือ การใส่สายสวนเข้าไปในหัวใจและหลอดเลือดรอบๆ เพื่อศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ ลิ้นหัวใจ และระบบการไหลเวียนเลือด
Coronary artery disease
หลอดเลือดหัวใจมีการตีบ/ตัน
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
(Ischemia H.)
การวินิจฉัย
Cardiac Enzymes
tropponin T,I
CK MB
EKG in 10 min
Acute coronary syndrome
(ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน)
UA (unstable angina)
EKG T wave change
chest pain
Trop T -
NSTEMI
EKG ST depression
chest pain > 30 min
Trop T +
การรักษา
CAG
Anti-coagulant ; heparin,Enoxaparin(ต้านการแข็งตัวของเลือด)
Anti-platelet
STEMI
EKG ST elevations
chest pain > 30 รุนแรงขึ้น
พัก/อมยาใต้ลิ้น(Nritate)ไม่ดีขึ้น
Trop T +
การรักษา
PCI ; percutaneous coronary intervention
CABG
Streptokinase ละลายลิ่มเลือด
อาการ
เจ็บหน้าอก ร้าวไปที่คอ/แขน
หายใจเหนื่อย
เหงื่อออก ตัวเย็น
Anatomy
RCA
Left main
Left antirior descending
Left circumflex
ขั้นตอนการทำ CAG
1.ให้ยา Local Anesthetic ขาหนีบด้านขวา ด้วยยา Lidocaine 2%
2.ใช้เข็มเบอร์18 แทงเข้าไปใน เส้นเลือด femoral artery ด้านขวา
4.ใส่สายสวนหัวใจ JL4 6 Fr เข้าไปทำการตรวจหัวใจ
4.ใส่สายสวนหัวใจ JR4 6 Fr เข้าไปทำการตรวจหัวใจ
ใช้สายสวนเบอร์ 6 French (2.x10^-11 cm) เข้าไปใน เส้นเลือด femoral artery ด้านขวา
ผลการทำ CAG
LX : ขดลวดของผู้ป่วยยกออกเป็น LAD และ LCx
LAD : .ขดลวดของผู้ป่วยบริเวณใกล้เคียง LAD มีการแพร่ไปยังที่ DG1
LCX : พบการตีบ 30% ในขดลวดที่ขั้ว LCx stent และ 30% ที่ปลายสุดของ LCx stent
RCA : พบแคลเซียมเกาะที่หลอดเลือดในขดลวดของผู้ป่วยที่บริเวณ distal RCA, CTO at PDA
การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
ส่วนใหญ่แพทย์จะทำการนัดมาดูอาการ 1-2 สัปดาห์หลังการฉีดสีสวนหัวใจ
การใช้งานของขาหรือข้อมือข้างที่ทำการตรวจนั้น สามารถทำงานทั่วไปได้ตามปกติ แต่ห้ามยก แบก หรือ ผลักของหนัก ๆ โดยเฉพาะช่วง 5-7 วันแรก (5กิโลกรัม)
การฉีดสีอย่างเดียว ควงงดขับรถ 3 วัน แต่ถ้ามีการถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวดด้วย ควรงดขับรถ 7 วัน
ถ้าบริเวณที่ทำการฉีดสีสวนหัวใจมีอาการบวมหรือปวดขึ้นเร็ว ปลายมือ ปลายเท้าเย็น หรือคลำได้มี ลักษณะมีเสียงฟู๊ๆ ให้รีบกลับมาพบแพทย์
ในกรณีที่มีจ้ำเลือดเขียวๆม่วงฯ บริเวณแผลโดยเฉพาะที่ขาหนีบ สามารถพบได้ ถ้าไม่มีอาการผิดปกติอะไร จะค่อยๆ หายไปเองภายใน 1-2 สัปดาห์