Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นทางธุรกิจ - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นทางธุรกิจ
ภาพรวมธุรกิจ
ธุรกิจ หมายถึง กระบวนการของกิจการทางเศรษฐกิจที่สัมพันธ์เป็นระบบอย่างต่อเนื่องในด้านการผลิต การซื้อขายเเลกเปลี่ยนสินค้า และบริการโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะได้รับกำไรและผลตอบแทนจากกิจกรรมนั้นๆ ธุกิจมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจช่วยเพิ่มมาตรฐานการครองชีพของคนในประเทศ สร้างรายได้ให้กับรัฐบาลสร้างผลิตภัณฑ์และบริการ
มูลเหตุจูงใจในการประกอบธุรกิจ
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
วิสาหกิจ
หน้าที่หลักของธุรกิจ
ประเภทของธุรกิจ
คูณสมบัติของผู้ประกอบการ
วัตถุประสงค์
การตลาด
การทำกิจกรรมตลาดเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบำบัดความต้องการและสนองต่อความจำเป็นของมนุษย์ทำให้เกิดความพึงพอใจ
Marketing 5.0 คือการติดต่อสื่อสารกับลูกค้า ผ่านช่องทางที่หลากหลาย -ช่องทางออนไลน์ -ช่องทางออฟไลน์ เป็นแพลตฟอร์มที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ตรงกลุ่ม สร้างประสบการ์ณที่ดี และใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด จนเกิดเป็นกลยุทธ์การตลาดที่มีความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน
ภาษีทางธุรกิจ
ภาษีอากร หมายถึง เงินที่รัฐบังคับจัดเก็บจากประชาชน และนำไปใช้เพื่อประโยชน์ต่อสังคมโดยส่วนรวม โดยที่รัฐไม่ผูกไันหรือมิได้มีสิ่งตอบเเทน โดยตรงต่อผู้เสียภาษี
วัตถุประสงค์ในการเก้บภาษี
การหารายได้เพื่อใช้จ่ายในกิจการของรัฐ
เพื่อควบคุมหรือส่งเสริมพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตของธุรกิจการค้า
รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
ภาษีของประเทศไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท
ได้เเก่
ภาษีเงินได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
อากรแสตมป์
รูปแบบการประกอบธุกิจ
รูปแบบของธุรกิจการประกอบธุรกิจในปัจจุบันมีอยู่หลายลักษณะทั้งธุรกิจขนาดเล็ก ธุรกิจขนาดกลาง และธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีสาขาทั่วประเทศ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการปฏิบัติตามกฎหมาย หรือกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ จึงมีการกำหนดรูปแบบธุรกิจออกเป็น 5 รูปแบบ
สหกรณ์
รัฐวิสาหกิจ
บริษัทจำกัด
บริษัทข้ามชาติ
ห้างหุ้นส่วน
กิจการแฟรนไชส์
กิจการเจ้าของคนเดียว
การจัดการ
การจัดการ หมายถึง กระบวนการหรือกิจกรรมที่ประกอบด้วยหน้าที่หลัก 4 ประการ ได้เเก่ การวางแผน การจัดองค์กร การชักนำ และการควบคุม การใช้ทรัพยากรรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรมนุษย์หรือสิ่งของ เพื่อดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของงาน โดยมีผู้บริหารหรือผู้จัดการเป็นผู้รับผิดชอบกระบวนการนี้
การชักนำ
การจัดองค์กร
การควบคุม
การวางแผน
จริยธรรมในการประกอบธุรกิจ
จริยธรรม คือ ความระลึกได้ในการมีสติ ประพฤติปฏิบัติสิ่งดีงามไม่ก่อ ความเดือดร้อนในการดำเนินชีวิตและการประกอบสัมมาอาชีพของตน จรรยาบรรณ หมายถึง การประพฤติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของ สังคม ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด
ความสำคัญของจริยธรรม คือ เป็นเกณฑ์ในการประพฤติปฏิบัติตนของบุคคล ช่วยให้บุคคลมีแนวทางในการยกระดับจิตใจ เป็นพื้นฐานของการสร้างสรรค์สังคม ทำให้บุคคลมีแนวปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของสังคม ทำให้บุคคลมีแนวทางในการจำแนกและวิพากษ์ว่าสิ่งใดดี สิ่งใดไม่ดี เป็นพื้นฐานของการพัฒนาชุมชนและสังคม
คุณค่าเเห่งจริยธรรม
จริยธรรมก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี
จริยธรรมก่อให้เกิดการลดหย่อนทางกฎหมาย
จริยธรรมก่อให้เกิดความทุ่มเทของพนักงาน
จริยธรรมก่อให้เกิดการทำงานอย่างมีความสุข
จริยธรรมก่อให้เกิดความเชื่อถือ
การผลิต
องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต
ㆍคุณภาพ (Quality)
ㆍการลดต้นทุน (Cost )
ㆍการส่งมอบ (Delivery)
ㆍ ความปลอดภัย (Safety)
ㆍขวัญและกำลังใจ (Morale)
ㆍ สิ่งแวดล้อม (Environment)
(Business Ethics)
ㆍจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ
การผลิตกับระยะเวลา
ㆍในทางเศรษฐศาสตร์ได้แบ่งระยะเวลาในการผลิตเป็น 2 ระยะ ระยะสั้น (Short run period) หมายถึง ช่วงเวลาการผลิตที่ ผู้ผลิตไม่สามารถเปลี่ยนแปลงขนาดหรือจำนวนปัจจัยการผลิต บางอย่างได้ ดังนั้นในระยะสั้นจะมี ปัจจัยการผลิตอยู่ 2 ชนิด คือ ปัจจัยคงที่ (Fixed factor) และปัจจัยแปรผัน (Variable factor) ระยะยาว (Long run period) หมายถึง ช่วงเวลาที่ ปัจจัยการผลิตทุกชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงขนาดหรือจำนวนได้ ทั้งหมดดังนั้นในระยะยาว ปัจจัยการผลิตทุกชนิด คือ ปัจจัยแปร ผันดังนั้นในระยะยาว ปัจจัยการผลิตทุกชนิด คือ ปัจจัยแปรผัน
การผลิต หมายถึง การนำวัตถุดิบและทรัพยากรซึ่งเป็นปัจจัยในการผลิตมาแปรสภาพ โดยผ่านกระบวนการผลิตตามลำดับขั้นตอนของการกระทำ
ก่อนหลัง ออกมาเป็นผลผลิต ได้แก่ สินค้าและบริการให้ได้ปริมาณและมีคุณภาพ ด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุดการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ต้องคำนึงถึงปัจจัยด้านปริมาณ คุณภาพ เวลา และ ราคา
การบริหารการผลิตㆍการบริหารการผลิต หมายถึง การจัดระบบการทำงานของหน่วยงานผลิตต่างๆ ให้ประสานงานกันอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ㆍ การบริหารการผลิต ต้องรับผิดชอบเรื่อง - การกำหนดและจัดเตรียมการผลิต - การวางแผนติดตั้งและควบคุมกระบวนการผลิต - การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปํญญา คือ สิทธิอันเกี่ยวกับวรรณกรรม ศิลปกรรม งานด้านวิทยาศาสตร์ การออกแบบด้านอุตสาหกรรม เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายการบริการ ชื่อการค้า การออกแบบและสิทธิอย่างอื่นที่มีผลเกิดจากทรัพย์สินทางปัญญาในด้านอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ วรรณกรรมและศิลปกรรม
เช่น
เครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายที่ใช้กับสินค้า เพื่อทำให้ผู้คนสามารถแยกแยะสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของผู้อื่น (อาจจะเป็น ภาพ คำ ชื่อ หรือตัวอักษร)
เครื่องหมายบริการ คือ เครื่องที่ใช้กับธุรกิจบริการเพื่อเเสดงว่าธุรกิจบริการนั้นเป็นของผู้ใด