Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อักษรสมัยอยุธยาตอนกลาง - Coggle Diagram
อักษรสมัยอยุธยาตอนกลาง
จำนวนอักษร
พบเครื่องหมายแทนสระ 2 รูป ได้เเก่ ไม้ไต่คู้ ( -็ ) และฟันหนู ( " ) เครื่องหมายทั้งสองนี้พบใช้ในพระราชพงศาสดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ พุทธศักราช 2223
-
-
อักขรวิธี
การใช้พยัญชนะ
การเขียนพยัญชนะเชื่อมต่อสระ รูปพยัญชนะบางตัว เช่น ช ป และ ส เมื่อประสมกับสระ -า และสระ -ิ หางจะเขียนในตำแหน่งใหม่
การใช้พยัญชนะตัวเดียวทำหน้าที่เป็นทั้งตัวสะกดของคำหน้าและเป็นพยัญชนะต้นของคำหลัง เช่น ในี้ เป็น ในนี้
-
-
การใช้สระ
-
-
-
คำที่ใช้สระ เ-ีย สมัยอยุธยาตอนกลาง จะใช้รูป เ-ีย และ เ-ิย ส่วนใหญ่จะวางสระบน อี และสระอิ ไว้ที่ตัว ย เป็นส่วนหนึ่งของสระ เ-ีย มีเป็นจำนวนน้อยที่วางไง้ที่พยัญชนะต้นเหมือนปัจจุบัน
-
-
-
-
-
การใช้เครื่องหมาย
แทนสระ
ฝนทอง ( ' ) และฟันหนู ( " ) ใช้เขียนกำกับบนคำหรือพยางค์เพื่อให้ออกเสียงสระอะ สระโอะ สระออ เเละสระเออ การใช้เครื่องหมายทั้งสองชนิดเพื่อให้ออกเสียงสระดังกล่าว พบว่าว่ามีการใช้ปะปนกัน
-
-
-
ประกอบการเขียน
-
เครื่องหมายไม้มยก สมัยอยุธยาตอนกลางมีรูปเปลี่ยนไปจากสมัยอยุธยาตอนต้น คือเป็นรูปเลข ๒ ที่ใช้ในสมัยนั้น
เครื่องหมายเริ่มต้นหรือคำประพันธ์ เช่น เครื่องหมายตาไก่หรือฟองมัน และจบข้อความจบข้อความ เช่น เครื่องหมายอังคั่นโคมูตรและเครื่องหมายโคมูตร