Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อักษรสมัยพญาลิไทย - Coggle Diagram
อักษรสมัยพญาลิไทย
อักขรวิธี
ยกเลิกการเขียนพยัญชนะสองตัวชิดติดกันทั้งอักษรควบกล้ำและอักษรนำ
ยกเลิกการเขียนตัวสะกดจากสระหรือพยัญชนะต้น
ใช้เครื่องหมายไม้หันอากาศ แทนการใช้พยัญชนะสองตัว
พยัญชนะ สระ และตัวสะกด มีระยะช่องไฟเท่ากันทุกตัว
วางสระไว้รอบพยัญชนะ
สระส่วนใหญ่ยังคงเขียนชิดติดกับพยัญชนะ เช่น สระอา อิ อี อื อุ อู
สระบางตัววางห่างจากพยัญชนะ เช่น สระใอ ไอ และสระเอ
พบเครื่องหมายขึ้นต้นข้อความ ในจารึกหลักที่ 3 จารึกนครชุม
พบเครื่องหมายคั่นข้อความ ในจารึกหลักที่ 2 จารึกศรีชุม
รูปอักษร
วรรณยุกต์
เอก ( -่ )
โท ( -๋ )
เครื่องหมาย
แทนสระ
พบเครื่องหมายไม้หันอากาศ
พบใช้ฝนทอง
พบใช้นิคหิต
ประกอบการเขียน
เครื่องหมายขึ้นต้นข้อความ
เครื่องหมายคั่นข้อความ
สระ
มีจำนวน 25 ตัว ( จากเดิม 21 ตัว เพิ่มมา 4 ตัว )
ฤ พบในจารึกหลักที่ 2 จารึกวัดศรีชุม
ฤา และ ฦา พบในจารึกหลักที่ 3 จารึกนครชุม
ฦ พบในจารึกหลักที่ 62 จารึกพระยืน
พบสระลอยอือ ในจารึกหลักที่ 3 จารึกนครชุม ในคำว่า (อื่น)
พยัญชนะ
มีจำนวน 40 ตัว ( จากเดิม 39 ตัว เพิ่มมา 1 ตัว )
ไม่พบตัว ฑ ฒ ฬ และ ฮ
พบ ฌ ในจารึกหลักที่ 2 จารึกวัดศรีชุม