Endocrine system

Hypothalamus

Pituitary gland

Adrenal gland

Thyroid gland

Parathyroid gland

Pineal gland

Islets of Langerhans

Adipose tissue

หลั่งฮอร์โมน OXYTOCIN, VASOPRESSIN/ADH ไปเก็บยังต่อมใต้สมองส่วนหลัง

nuclei ชนิดต่าง ๆ ที่หลั่งฮอร์โมนเพื่อไปควบคุมการ
ทำงานของต่อมฮอร์โมนอื่นๆ

ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย

Hyperthermia ภาวะตัวร้อนเกิน อุณหภูมิของ
ร่างกายจะเพิ่มสูงขึ้น 2-3 องศาเซลเซียส

ควบคุมน้ำหนักและความอยากอาหาร

Hypothermia การมีอุณหภูมิร่างกายตำ่กว่าปกติ 1-2 องศาเซลเซียส

Hyperphagia ความอยากอาหารเพิ่มขึ้นทำให้อ้วน

Hypophagia ภาวะความอยากอาหารลดลงทำให้ผอม

วงจรการนอนหลับ

INSOMNIA (ภาวะนอนหลับยาก)

HYPERSOMNIA (ภาวะนอนนานมากเกินไป
โดยเฉพาะในตอนกลางวัน

การควบคุมอารมณ์

RAGE
(violent, uncontrollable anger

น้ำและความสมดุลของเกลือแร่

Diabetes insipidus หรือ เบาจืด (พบการปัสสาวะมากผิดปกติ ร่วมกับอาการกระหายน้ำ

BLOOD PRESSURE (ความดันโลหิต)

Cell type

Chromophils

Acidophill

GH

PRL

Chromophobes

Basophil

ACTH

FSH,LH

TSH

Hormones

Ant lobe

TSH

ACTH

PRL

GH

FSH

LH

Post lobe

OXY

ADH

Int lobe

MSH

Parts of pituitary

Anterior lobe

Posterior lobe

Pars distalis

Par intermedia

Par tuberalis

Median eminenc

Infundibulum

Pars nervosa

Pinealocytes

พบมากที่สุด ใหญ่สุด

ย้อมติดสีจาง

Interstitial cells

เล็ก ย้อมติดสีเข้ม พบประมาณ5% มีนิวเคลียสยาวรี

สร้าง MELATONIN

สะสมฮอร์โมนไว้ภายนอกเซลล์

Follicular epithelium

FOLLICULAR

PARAFOLLICULAR CELLS

พบอยู่รอบ ๆ หรืออยู่ระหว่าง follicular epithelium

สร้าง thyroid hormones

ติดสีจาง นิวคลีโอลัสเด่น

จะพบด้าน apical surface สัมผัสอยู่กับ colloid ส่วนด้านฐาน
ของเซลล์วางอยู่บน basal membrane

มีขนาดใหญ่กว่าfollicular cells ไซโตพลาสซึมย้อมไม่ค่อยติดสี

หลั่งฮอร์โมน CALCITONIN

PRINCIPAL (CHIEF) CELLS

OXYPHIL CELLS

พบเยอะ ย้อมติดสีน้ำเงินจางๆ

พบน้อย ขนาดใหญ่ principal cells ย้อมติดสีชมพู

Hormone PTH

ออกฤทธิ์ที่กระดูก ทำหน้าที่เพิ่มแคลเซียมในกระแสเลือด ในกรณีที่แคลเซียมในเลือดต่ำ

เพิ่มการสลายกระดูก

เพิ่มการดูดกลับแคลเซียมที่ไต

CORTEX

Medulla

อยู่ใต้ต่อเยื่อหุ้ม (capsule)
จัดเป็น 90% ของอวัยวะ หลั่งสเตียรอยด์ฮอร์โมน

อยู่ลึกต่อส่วน cortex บริเวณส่วนกลางของต่อม หลั่งสารจำพวกCATHCHOLAMINE-SECRETING PORTION

Zones of Adrenal cortex

ZONA GLOMERULOSA อยู่ชั้นนอกสุด พบประมาณ 15% ของส่วน cortex

ZONA FASCICULATA, อยู่ถัดเข้ามาตรงกลาง เป็นชั้นที่หนาที่สุด พบประมาณ 80% ของ
cortex

ZONA RETICULARIS ชั้นในสุด พบเซลล์ประมาณ 5% to 7% แต่หนากว่าชั้นนอกสุด

เซลล์จะเรียงตัวกันขดไปมา

หลั่งฮอร์โมนกลุ่มMINERALOCORTICOIDS ควบคุมสมดุลของโซเดียม โพแทสเซียม และน้ำ

ฮอร์โมนส าคัญที่ถูกหลั่ง คือ
ALDOSTERONE

polygonal shape มีขนาดใหญ่กว่าชั้นนอก

เรียงตัวกันเป็นแถวระหว่างแถวจะพบหลอดเลือดฝอยแทรกอยู่

หลั่งฮอร์โมนจำพวก GLUCOCORTICOIDS ที่สำคัญ
คือ CORTISOLควบคุมระดับglucose

ฮอร์โมนที่ถูกสร้างคือ GONADOCORTICOIDS (sex hormones)

ย้อมติดสีน้ำเงินจาง มีรูปร่าง polygonal เรียกว่า CHROMAFFIN CELLS

หลั่ง
CATECHOLAMINE ซึ่งประกอบด้วย EPINEPHRINE and NOREPINEPHRINE

พบ GANGLION CELLS (Gc) ท าหน้าที่ควบคุมการหลั่งของฮอร์โมนในชั้น CORTEX ด้วย

ย้อมติดสีจาง แทรกกระจายอยู่ตามบริเวณ
ACINAR CELLS

สร้าง คือ INSULIN, GLUCAGON, SOMATOSTATIONทำหน้าที่ควบคุมเมตาบอลิซึมของ glucose, lipid, and protein

Adipocytesสะสมไขมัน

เนื้อเยื่อไขมัน

White adipose tissue

พบในผู้ใหญ่ พบบริเวณชั้น subcutaneous ใต้
ผิวหนังหรือตามอวัยวะภายในต่าง ๆ

Brown adipose tissue

พบในตัวอ่อน (fetal life) โดยเฉพาะบริเวณต้นคอ
และหลัง จะสลายไปหลังจากคลอด

Leptin ควบคุมความหิวและการใช้พลังงานของร่างกาย

ADIPONECTIN, RESISTIN, TGF-beta เกี่ยวข้องกับ insulin resistance ทำให้น้ าตาล
ในเลือดสูงขึ้น เกี่ยวกับการเกิดโรค เบาหวาน ชนิดที่ 2 (DM type 2)

IMG_0857

IMG_0858

IMG_0859

IMG_0860

IMG_0861

IMG_0862

IMG_0863

IMG_0868

IMG_0864

IMG_0865

IMG_0866

IMG_0867

IMG_0869

IMG_0870