Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลต่อการบริหารส่งเสริมและพัฒนาการเกษ…
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลต่อการบริหารส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
แนวคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การที่ระบบสังคม กระบวนการ แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครัว ระบบการปกครอง ได้เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตาม
องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ระดับของการเปลี่ยนแปลง
ระดับบุลคล องค์กร ประเทศ สถาบัน
ช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลง
ระยะสั้น ระยะยาว
ลักษณะการเปลี่ยนแปลง
ทัศนคติ พฤติกรรม ปฏิกริยามีการเปลี่ยนไป
ทิศทางการเปลี่ยนแปลง
เบนขึ้นหรือลงจากเดิม
ขนาดของการเปลี่ยนแปลง
ขนาดจำนวนและการผสมผสานของการเปลี่ยนแปลง
อัตราของการเปลี่ยนแปลง
ความเร็วหรือช้าในการเปลี่ยนแปลง ความต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่อง
ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความก้าวหน้า
การวิวัฒนาการ
กระบวนการ
การพัฒนา
ปฏิกริยาตอบสนองทางสังคม
สิ่งเร้าทางวัฒนธรรม
สิ่งเร้าทางเศรษฐกิจ
สิ่งเร้าทางจิตวิทยา
สิ่งเร้าทางสังคม
ทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่งสังคมอุตสาหกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบเส้นตรง
การเปลี่ยนแปลงแบบวัฎจักร
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
อิทธิพลของประชากรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ลักษณะบุคลิคของบุคคล
โครงสร้างประชากร
ขนาดของประชากร
กายย้ายถิ่นฐาน
การขยายตัวของประชากร
การขัดเกลาสังคม
การเกิด
การตาย
ความสำคัญของประชากร
ไม่มีประชนหรือคนในประเทศก็ไม่มีประเทศ
ปัจจัยด้านวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงในระเบียบแบบแผน ประเพณีและวัฒนธรรม
อิทธิผลของการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การประดิษฐ์ คิดค้น
การปฎิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
ระบบความคิด
เทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางเศรศฐกิจ
ความหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาคุณภาพชีวิต สังคม การเงิน การเมืองเพื่อให้เกิดความสุขในมวลรวม
คาวามสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ช่วยยกระดับมาตรฐานการใช้ชีวิตของประชาชนในประเทศ
เป็นหนทางที่จะทำให้ประเทศพึ่งพาตนเองได้
เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศ
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่พัฒนา
หมายถึงประเทศที่มีรัฐสวีสดิการดี รายได้ต่อประชากรสูง อาชากรต่ำ คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมเหมาะสมต่อการอยู่อาศัย
การจับกลุ่มร่วมมือกันของแต่ละประเทศแทนการแข่งขัน
การพัฒนาเศรษฐกิจของประกำลังพัฒนา
หมายถึงประเทศที่มีการพัฒนา รายได้ต่อหัว คุณภาพชีวิตแบบปานกลาง ซึ่งรวมถึงประเทศโลกที่ 3 ที่เกิดขึ้นในช่วงส่งครามเย็น
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางการเมืองระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งระหว่างประเทศ
ค่าเงินอ่อนตัว
ขาดสภาพคล่อง
ปัจจัยระดับท้องถิ่น
การกระจายอำนาจสู่งระดับท้องถิ่น
ปัจจัยทางการเมือง
ปัจจัยทางสังคม
ไทยหลังยุตฟองสบู่แตก
กู้มาเป็นสกุลเงินต่างชาติต้องจ่ายคืนเป็นสกุลเงินต่างชาติ จอร์จ โซรอส จึงรวมหัวกับธนาคารขึ้นค่าเงินบาทจาก 1 ดอลล่าเท่ากับ 25 บาทเป็น 1 ดอลล่า 30 บาท ทำให้เงินบาทในตอนนั้นมีค่าน้อยกว่ากระดาษทิชชู่
สังคมไทยในปัจจุบัน
ลดบทบาทจากประเทศชั้นนำอุตสาหกรรมมาเป็นพึ่งพาตนเองแบบมั่นคง มั้งคั่ง ยั้งยืน
ไทยก่อนยุคฟองสบู่แตก
มีการไหล่เข้ามาของเงินทุนจากสถาบันต่างชาติ ที่มีดอกเบี้ยถูกกว่าไทย คนจำนวนมากจึงกู้เงินเพื่อนำมาสร้างอสังหาริมทรัพย์
ปัจจัยทางเศรษฐกิจและการค้า
ความได้เปรียบทางการตลาด
ความได้เปรียบทางกระบวนการ
ความได้เปรียบทางเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทย และเศรษฐกิจโลกที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศษรฐกิจไทยที่มีผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรก่อนมีแผนพัฒนาเกศรฐกิจและสังคมแหงชาติ
สมัยอยุธยา
การเกษตรในสมัยนั้นพึ่งพาธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่เนื่องจากรบกกับพม่า
สมัยธนบุรี
เป็นการเกษตรเพื่อยังชีพเช่นเดียวกับอยุธยาเนื่องจากเป็นช่วงปลายส่งครามกับพม่า
สมัยสุโขทัย
พ่อปกครองลูก ประชากรมีน้อยกว่าที่ดิน ภูมิประเทศยังอุดมสมบูรณ์
สมัยรัตนโกสินทร์
เริ่มทำการเกษตรอย่างจริงจัง เริ่มมีแผนพัฒนาตอนปี 2504
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและโครงสร้างการเกษตรของไทย
เนื้อที่ผู้ถือครองต่อครัวเรือนลดลง
การผลิตเปลี่ยนไปโดยเน้นการผลิตตามความต้องการมากขึ้น
ประชากรภาคการเกษตรลดลง
ประชาชนเริ่มเห็นความสำคัญของภาคการเกษตรมากขึ้น
ภาคการเกษตรในอนาคต
การวิจัยและพัฒนาให้ได้พันธุ์ใหม่
การเพิ่มมูลค้าของสินค้าทางการเกษตร
การพัฒนาคุณภาพของสินค้า
การปรับตัวเพื่อให้สามารถแข่งขันโดยเน้นที่คุณภาพ
การลดต้นทุนการผลิต
การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรในอนาคต
มีการบริหารทรัพยากรอย่างมั่งคั้ง ยั่งยืน
อุตสาหกรรมต้องเปลี่ยนแปลงมาเป็นรองรับภาคการเกษตร
เกษตรกรต้องมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดี
การเกษตรต้องอนุรักษ์ธรรมชาติ
การเมืองจะต้องเอื้ออำนวย
ต้องนำระบบสารสนเทศเข้ามาช่วยพัฒนา
การผลิตต้องมีคุณภาพและปลอดสารพิษ
ต้องจัดการเกษตรให้ให้สอดคล้องกับพื้นที่
องค์กรต่างๆต้องช่วยกันส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจโลกที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การแข่งขันที่รุนแรงจากเศรษฐกิจเกิดใหม่
เนื่องจากเศรษฐกิจใหม่จะแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจและทรัพยากรในประเทศที่กำลังพัฒนา เช่น จีน ลงทุน ในลาว หม่า เป็นต้น
การแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจเกิดใหม่
ไทยพึ่งพาตลาดเดิมสูงมาก จึงต้องมีการเพิ่มตลาดเพื่อเพิ่มโอกาสขนายตัวของเศรษฐกิจ
การสร้างสมดุลระหว่างอำนาจเก่าและอำนาจใหม่
การแข่งขันทางเศรษฐกิจของจีนและสหรัฐอเมริกา
บริหารความเสี่ยงจากความซับซ้อนของเศรษฐกิจโลก
การเกิดขึ้นของขั้วอำนาจใหม่ นำมาซึ่งการรวมกลุ่มใหม่ ทำให้เกิดความซับซ้อนมากขึ้น
การกีดกันทางการค้าและการช่วยเหลือโดยภาครัฐ
สหรัฐและจีน ห้ามนำเข้าสินค้าบางประเภท
การรักษาความมั่นคงและยั่งยืนของการเจริญเติบโตทางเศรฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย สังคมโลก ที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลกที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความเป็นมาของสังคมโลก และปัจจัยของสถาพการเปลี่ยนแปลงของโลกหลัง ค.ศ.2000
การเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรม สิ่งแวดล้อม และสิทธิมนุษยชน
แนวทางการศึกษาสภาพสังคมยุค 2000
อุดมคตินิยม
โลกในฝัน
สัจนิยม
มุ่งเน้นผลประโยชน์ส่วนตน
ทฤษฏีระบบ
ระบบที่มีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา
เศรษฐศาสตร์การเมือง
การเมือง+เศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทยมีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงด้านทรัะยากรมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงด้านจำนวนและประเภทของประชากร
การเปลี่ยนแปลงทางด้านคุณภาพของประชากร
การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติด้านการนำมาใช้ประโยชน์
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมด้วยเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารปกครอง
วิวัฒนาการของประาธิปไตย
ลักษณะสำคัญของการจัดการบริหารปกครองในปัจจุบันและอนาคต
การให้สิทธิเสริภาพโดยกว้างขวางแก่ประชาชน
เพิ่มอำนาจการปกครองด้วยการมีส่วนร่วมของประชาชน
การลดอำนาจรัฐจากศูนย์กลางเพิ่มอำนาจท้องถิ่น
การเปลี่ยนแปลงหลังยุค 2000
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
สงครามเย็น
การล่มสลายของสหภาพโซเวียต
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ