Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารจัดการอะไหล่, นางสาวอรวรา อินท์จันทร์ 630911106 - Coggle Diagram
การบริหารจัดการอะไหล่
การจำแนกอะไหล่เพื่อการบริหารจัดการ
อะไหล่พิเศษเฉพาะเครื่อง
อะไหล่ประกันเตรียมพร้อม
อะไหล่ที่ใช้ได้กับหลายเครื่อง
อะไหล่ที่สามารจัดซื้อเมื่อต้องการได้ทันที
อะไหล่และอุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นสินทรัพย์ถาวร
อะไหล่ที่มีลักษณะเป็นวัสุดทั่วไป
เคมีและก๊าซ
เครื่องมือ
อะไหล่สำรองเดินเครื่องแรก
กลุ่มงานพื้นฐานของงานคลังอะไหล่
1.การรับอะไหล่ ประกอบด้วย
1.1 การรับอะไหล่เข้ามาในคลังอะไหล่ตามลำดับ
1.2สร้างความมั่นใจว่าอะไหล่ที่สั่งไปนั้นรับเข้ามาถูกต้องตามปริมาณและคุณภาพที่ต้องการ
1.3การจ่ายอะไหล่ไปยังสถานที่อื่นๆ
2.การแยกบรรจุล่วงหน้า จะทำเมื่อคลังได้รับอะไหล่จากซัพพลายเออร์คราวละมากๆ ทำให้ต้องมาแยกจัดกลุ่มเพื่อส่งต่อไปใช้งานได้ง่าย
3.การจัดเข้าที่ การนำอะไหล่ไปยังพื้นที่ที่กำหนดไว้ รวมไปถึงการดูแลอะไหล่ ยืนยันตำแหน่งการจัดเก็บ และการวางอะไหล่
4.การเก็บรักษา เป็นการรักษาอะไหล่เพื่อรอการหยิบจ่ายในอนาคต
5.การหยิบอะไหล่ตามรายการ เป็นการนำอะไหล่ออกจากพื้นที่การจัดเก็บตามที่ระบุไว้ในใบสั่ง เป็นการบริการพื้นฐานของคลังอะไหล่ และเป็นหน้าที่หลักของทุกคลังอะไหล่อีกด้วย
6.การบรรจุหีบห่อและการติดป้ายราคา เป็นงานที่อาจจะมีหรือไม่ก็ได้ หากมีจะเกิดขึ้นหลังจากที่ได้มีแยกอะไหล่ออกจากกล่องเรียบร้อยแล้ว
7.การคัดแยกและการรวมอะไหล่ จะแบ่งอะไหล่จากที่เป็นกลุ่มรวมๆเป็นกลุ่มเล็กๆ ใหม่ โดยจัดตามเอกสารที่ระบุความต้องการ
8.การจัดกลุ่มและการจัดส่ง
ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ตรงตามใบสั่งงาน
บรรจุหีบห่ออะไหล่ในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมต่อการขนส่ง
จัดเตรียมเอกสารการขนส่งโดยมีรายละเอียดต่างๆ เช่น รายการอะไหล่ ที่อยู่ ปริมาณ ฯลฯ
ชั่งน้ำหนักเพื่อคิดค่าจัดส่ง
รวบรวมรายการอะไหล่แยกตามผู้ขนส่งหรือที่อยู่ที่จะส่งอะไหล่
ขนอะไหล่ขึ้นยานพาหนะ
ปัจจัยที่นำมาพิจารณาในการควบคุม
ระยะเวลาในการส่งมอบ
ความพร้อมของอะไหล่ในตลาด
แหล่งในการจัดหา
อัตราการใช้อะไหล่
อายุเครื่องจักร
ระบบการวางแผนให้สัมพันธ์กับการเคลื่อนไหวอะไหล่
ระบบจุดสั่งซื้อใหม่ (Re-Order Point :ROP)
ระบบการวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement : MRP)
ระบบการวางแผนทรัพยากรธุรกิจขององค์กร (Enterprise Resource Planning : ERP)
ความสำคัญของการบริหารจัดการอะไหล่
เป็นสายงานหนึ่งในกระบวนการห่วงโซ่ของการสร้างมูลค่า
เป็นกิจกรรมที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการผลิต
ช่วยลดปัญหาการหยุดซ่อมเครื่องจักรขณะทำการผลิต (Break down)
ลดปัญหาอะไหล่ที่ล้าสมัย
ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง
การนำระบบสารสนเทศมาประยุกต์กับการบริหารอะไหล่
RFID
นางสาวอรวรา อินท์จันทร์ 630911106