Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เสาต้นที่ 4 -8, นางสาวอรวรา อินท์จันทร์ 630911106 - Coggle Diagram
เสาต้นที่ 4 -8
เสาต้นที่ 5 การคำนึงถึงการบำรุงรักษาตั้งแต่ขั้นของการออกแบบ
แนวคิดของ LCC
Life Cycle Costing
ค่าใช้จ่ายตลอดอายุของผลิตภัณฑ์หรือเครื่องจักร หรือค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมดที่เกิดขึ้นโดยตรงและโดยอ้อม รวมถึงค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในช่วงอายุที่คาดการณ์ไว้
Life Cycle Costing (LCCing)
ขั้นตอนที่ 1 ทำให้ภารกิจ (mission) ของระบบที่เป็นเป้าหมายชัดเจน
ขั้นตอนที่ 2 เสนอแผนต่างๆ ที่สามารถบรรลุถึงภารกิจดังกล่าว
ขั้นตอนที่ 5 นำผลลัพธ์ของการวิเคราะห์และกระบวนการของการ วิเคราะห์เขียนเป็นเอกสาร
ขั้นตอนที่ 3 ทำให้ปัจจัยที่ใช้ในการประเมินระบบและวิธีการวัดเชิง ปริมาณของปัจจัยมีความชัดเจน
ขั้นตอนที่ 4 ทำการประเมินแผนต่างๆ
MP Maintenance Prevention
ขั้นตอนที่ 1 การสำรวจและการวิเคราะห์สภาวะปัจจุบัน
ขั้นตอนที่ 2 สร้างระบบการควบคุมดูแลขั้นต้น
ขั้นตอนที่ 3 ทำการ debugging และศึกษาระบบใหม่ที่สร้างขึ้น
ขั้นตอนที่ 4 การใช้ระบบใหม่ทั้งหมดและการดำเนินการจนคุ้นเคย
เสาต้นที่ 7 กิจกรรม TPM ในสำนักงาน
1) บทบาทในงานบริหารและงานสนับสนุน(การจัดเตรียมเอกสาร ประสานงาน ฯลฯ)
-ช่วยให้การทำกิจกรรม TPM ในฝ่ายผลิตได้รับความสะดวกมากยิ่งขึ้น
-ลดความสูญเสียต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในงานสำนักงาน
2) การเพิ่มผลผลิตในสำนักงาน
การเพิ่มผลงาน เช่น การพัฒนาศักยภาพการตัดสินใจ การปรับปรุงการทำงานการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในองค์กร และการใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า
3) ความสูญเสียในสำนักงาน
-ความสูญเสียในการตัดสินใจ
-ความสูญเสียจากการประสานงานและความสูญเสียจากการทำเอกสาร
เสาต้นที่ 8 ระบบชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม
สมรรถนะขององค์กร
การเพิ่มผลผลิต + คุณภาพ + ต้นทุน + การส่งมอบ + สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย + ขวัญกำลังใจ + การควบคุม
ขั้นตอนการบริหารความปลอดภัยในกิจกรรม TPM
ขั้นตอนความปลอดภัยในการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
ขั้นตอนที่ 1 : การทำความสะอาดแบบตรวจสอบ
ขั้นตอนที่ 2 : การกำจัดจุดยากลำบากและแหล่งกำเนิดปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 : การจัดทำมาตรฐานชั่วคราวในการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
ขั้นตอนที่ 4 : การตรวจสอบโดยรวม
ขั้นตอนที่ 5 : การตรวจสอบด้วยตนเอง
ขั้นตอนที่ 6 : การจัดทำเป็นมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 7 : การยกระดับของการบริหารความปลอดภัย
ขั้นตอนความปลอดภัยในการบำรุงรักษาตามแผน
2.1) การใช้เทคโนโลยีในการหาความผิดปกติของเครื่องจักร
2.2) แผนการบำรุงรักษาอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
2.3) ขั้นตอนความปลอดภัยในการป้องกันการบำรุงรักษา
เสาต้นที่ 4
การพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานและการบำรุงรักษา
แนวคิดพื้นฐานในการฝึกอบรม
ทักษะความชำนาญ (Skill)
ทักษะความชำนาญ 5 ระดับ
ระดับ 0 : ไม่รู้ (ไม่ได้รับการอบรม) มีความรู้ไม่เพียงพอ
ระดับ 1 : รู้อยู่แต่ในหัวเท่านั้น
ระดับ 2 : มีความสามารถในระดับหนึ่ง
ระดับ 3 : สามารถทำได้อย่างมีความมั่นใจ สภาพที่มีการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ระดับ 4 : สามารถสอนผู้อื่นได้ (สภาพที่เป็นของตนเองโดยแท้จริง)
เสาต้นที่ 6 การบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ
ความหมายของการบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ
เพื่อความมั่นใจในคุณภาพที่เกิดจากการบำรุงรักษาเครื่องจักร
เป็นเงื่อนไขต่าง ๆ ของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่จะไม่ทำให้เกิดของเสีย
ป้องกันปัญหาทางด้านคุณภาพด้วยการควบคุมเงื่อนไขที่จะไม่ทำให้เกิดของเสีย
เป็นการตรวจวัดความเบี่ยงเบนของเงื่อนไขต่าง ๆ เพื่อพยากรณ์โอกาสที่จะเกิดของเสียและหาทางป้องกันล่วงหน้า
นางสาวอรวรา อินท์จันทร์ 630911106