Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
G1P0 GA32+3wks.by U/S with preterm with Gestational hypertension - Coggle…
G1P0 GA32+3wks.by U/S with preterm with
Gestational hypertension
Power
Primary power
No Uterine contraction in 10 min
เนื่องจากยังไม่เข้าสู่ระยะคลอด GA 32+3wks. by U/S
Secon power
Passage
Bony passage
ลักษณะทั่วไป
อายุ
อายุน้อยกว่า 18 ปี ช่องเชิงกรานยังเจริญไม่เต็มที่
หญิงตั้งครรภ์อายุ 36 ปี
ส่วนสูง
น้อยกว่า145 cm. จะสัมพันธ์กันช่องเชิงกรานแคบ
หญิงตั้งครรภ์สูง 160 cm
การเดิน
การเดินผิดปกติ เช่นเดินขากะเพก ขาเบียด
การเคลื่อนไหวและท่าเดินของหญิงตั้งครรภ์รายนี้ปกติ
อุบัติเหตุ
ช่องเชิงกรานแตกร้าวจากอุบัติเหตุ
ปฏิเสรการได้รับอุบัติเหตุ
กระดูกเชิงกราน
Pelvic inlet
Pelvic cavity
ยังไม่มีการEngagement เนื่องจากเป็นPreterm
GA 32+3wk. By U/S No PV
Pelvic outlet
Soft passage
ปากมดลูก
No PV
ช่องคลอด
เคยผ่านการคลอดทำให้ช่องคลอดขยายขึ้น คลอดง่ายขึ้น
หญิงตั้งครรภ์G1P0 ทำให้เกิดการคลอดยากได้
เสี่ยงต่อการคลอดยาก
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
น้ำหนักไม่ควรเกิน70kg.
BMIไม่ควรเกิน 26 kg/m2
ส่งผลให้อุ้งเชิงกรานหนา
น้ำหนัก 70 kg BMIไม่ควรเกิน 21.48 kg/m2
Passenger
ทารก
ขนาดลำตัว
จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 1 Fundal grip
HF = 31 cm.
Lie
Longitudinal lie
Position
จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 2 Umbilical grip
ทารกอยู่ในท่า ROA
Presentation
จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 3 Pawilk grip
คลำพบก้อนกลม แข็ง
รก
ต่ำแหน่งการเกาะของรก
จากผลU/S No placenta previa.
น้ำคร่ำ
1.ลักษณะสีของน้ำคร่ำ
2.ปริมาณน้ำคร่ำ ประเมินจากHF
ยังไม่มีน้ำเดิน
Physical condition
Gestational hypertension
ความหมาย
ภาวะความดันโลหิตสูงที่ตรวจพบหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ แต่ไม่พบไม่มีโปรตีนในปัสสาวะ
หญิงตั้งครรภ์ความดันโลหิตสูงเมื่อ GA 32 + 3wks.
การวินิจฉัย
1.ความดันโลหิตมากกว่า140/90mmHg แต่ไม่เกิน160/110mmHg
วัด 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
ความดันโลหิตครั้งที่1 154/91 mmHg
ความดันโลหิตครั้งที่2 140/89 mmHg
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากพยาธิสภาพของโรคความดันโลหิตสูง
2.โปรตีนในปัสสาวะ<300mg in 24 hr.
ไม่ได้เก็บUrineใน24hr.
3.ความดันโลหิตกลับสู่ค่าปกติใน 12 สัปดาห์หลังคลอดเท่านั้น
การดูแลระยะตั้งครรภ์
1.Admitเพื่อตรวจวินิจฉัยภาวะ severe feature เฝ้าระวังและสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
2.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วินิจฉัย New-onset proteinuria
UA,UPCI
UPCI=0.125 ผิดปกติ
วินิจฉัย severe feature
CBC,BUN,Cr,AST,ALT
ผลแลปปกติ
วินิจฉัย HELLP syndrome
PBS,LDH
LDH=245 ปกติ
3.ติดตามและประเมินความดันโลหิตทุก 2 ชั่วโมง
หรือมีอาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่ และหอบเหนื่อย
ไม่มีอาการและอาการแสดง ค่าความดันโลหิตต่ำกว่า140/90 mmHg
4.สังเกตอาการอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
หากอาหารและผลแลปปกติให้จำหน่ายออกโรงพยาบาลได้
5.ตรวจประเมินและติดตามสุขภาพทารกโดยการนับลูกดิ้นหรือประเมินNST
NST : reactive FHS 140bpm.
6.ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ได้รับการพักผ่อน8-9ชั่วโมงต่อวัน
ปัจจัยส่งเสริม
1.มารดาอายุมากกว่า40 มีความเสี่ยงเป็นโรค 2 เท่า
มารดาอายุ 36 ปี
2.ประวัติในครอบครัวเคยเป็นมาก่อน
ไม่ทราบประวัติคนในครอบครัวเนื่องจากไม่ได้รับการตรวจ
3.ไม่เคยคลอดบุตร
หญิงตั้งครรภ์ G1P0
4.เบาหวาน,โรคไตเรื้อรัง
อายุ
มากกว่า 35 ปี ช่องเชิงกรานจะขายายได้น้อย
หญิงตั้งครรภ์อายุ 36 ปี
.
น้ำหนัก
น้ำหนักไม่ควรเกิน70kg. และBMIไม่ควรเกิน 26 kg/m2
น้ำหนัก 70 kg BMIไม่ควรเกิน 21.48 kg/m2
.
ส่วนสูง
ส่วนสูง>145cm. สัมพันธ์กับช่องเชิงกรานแคบ
หญิงตั้งครรภ์สูง 160 cm
psychological conditions
หญิงตั้งครรภ์ไม่มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ครั้งนี้
Position
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
ป้องกันการเกิดFerguson’s reflex ทำให้เพิ่มOxytocinในร่างกาย ซึ่งเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดการหดรัดตัวของมดลูกทำให้อาจะเกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
หญิงตั้งครรภ์อยู่ในท่านอนตะแคงซ้าย และAbsolute bed rest.
.