Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dx. ARDS with CKD stage 3 - Coggle Diagram
Dx. ARDS with CKD stage 3
ปัญหาทางการพยาบาล : เฝ้าระวังภาวะความดันโลหิตสูงหรือต่ำผิดปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วยทุก 4 ชั่วโมง และประเมินอาการภาวะความดันโลหิตสูงหรือต่ำผิดปกติ ถ้าผู้ป่วยมีภาวะความดันโลหิตสูงจะมีอาการหน้ามืด ใจสั่น เวียนศีรษะ ถ้าผู้ป่วยความดันโลหิตต่ำ จะมีอาการอ่อนเพลีย มือเท้าเย็น ความรู้สึกตัวลดเพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะความดันโลหิตสูงหรือต่ำผิดปกติ
2.ดูแลไม่ให้น้ำและเกลือคั่งในร่างกายโดยให้ได้รับยา Furosemide 250 mg.INJ. 25 ml ครั้งละ 250 mg. iv drip in 1 hr
3.ดูแลให้ได้รับยารักษาความดันโลหิต คือ ยา Madipine 1 Tab , ยา Apreszine 25 mg.TAB ใช้รักษาภาวะความดันโลหิตสูง และให้ผู้ป่วยได้รับยา Levophed เพื่อเพิ่มความดันโลหิตในภาวะความดันโลหิตต่ำ
4.ดูแลจัดท่านอนผู้ป่วยให้ได้รับความสุขสบายในการนอนหลับพักผ่อนเพื่อป้องกันการนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอจนเกิดภาวะความดันโลหิตสูง
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและสารอาหารเพียงพอต่อความต้องการร่างกาย BD 2:1 Low salt, Low K , Low PO4(น้อยกว่า 800 mg/day) 200 ml x 4 Feeds + น้ำตาม 50 ml/Feed (Tv= 1000 , TC = 1600 total protein 40 g/day ) (29 Kcal/Kg/day)
ช้อมูลสนับสนุน
Bp = 199/59 mmHg
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัว Hypertension
ผู้ป่วยได้รับยา Madipine 1 Tab ,ยา Apreszine 25 mg. Tab รักษาภาวะความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยได้รับยา Levophed เพื่อเพิ่มความดันโลหิต
ปัญหาทางการพยาบาล : Infection การติดเชื้อ
กิจกรรมการพยาบาล
ข้อมูลสนับสนุน
WBC = 20.66 H 10^3/uL (ค่าปกติ 4.03-10.77)
T = 39.5 องศาเซลเซียส
neutrophil = 97.0 % (ค่าปกติ 48.2-71.2)
Lymphocyte = 2.0 % (ค่าปกติ 21.1-42.7)
คนไข้มีอาการหนาวสั่น
BP 193/62 mmHg (30/09/66)
เสี่ยงต่อภาวะขาดสารน้ำสารอาหารเนื่องจากงดน้ำงดอาหาร จากภาวะเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยมี content เป็น coffeeground ได้ 75 ML
ข้อมูลสนับสนุน
film acute abdomen series พบ : bowel dilate มี Air ในช่องท้อง
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อร่างกาย : BD (2:1) low salt, low K, low PO4
200 ml x 4 feed + น้ำตาม 50 ml/feed
(TV 1000 TC 1600 total protein 40 g/day) หากผู้ป่วยมี albumin ต่ำ ให้ยา 20% albumin หรืออาจมีการให้ไข่ขาวเพิ่มแก่ผู้ป่วย
2.ดูแลให้ feed น้ำหวาน 100 ml
ประเมินสภาวะการขาดอาหาร น้ําหนักลด หรือต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ ตามอายุ อ่อนเพลีย ปากอักเสบ เป็นแผล กล้ามเนื้อแขนขาลีบ เปลือกตาซีด ค่า BUN สูง ค่า Hct, Hb, ระดับอัลบูมิน
3.ติดตามผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ ค่า Hct, Alb เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของเมแทบบอลิซึม การเปลี่ยนแปลงของสมดุลเกลือแร่ เช่น potassium sodium chloride magnesium phosphate
4.ให้สารอาหารทางสายยางเพื่อป้องกันการสำลักเข้าปอด Aspirate pneumonia โดยจัดท่าศีรษะสูง 30-45 องศา และตรวจสอบตำแหน่งสายให้อาหาร และตรวจสอบปริมาณอาหารที่เหลืออยู่ในกระเพาะอาหาร
5.บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออก ทุก 8 ชั่วโมง
6.ประเมินน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ BMI อยู่ในเกณฑ์
18.50-22.90 kg/m2.
7.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาแพทย์โดยให้
Omeprazole 40 mg.INJ. เป็นยารักษาโรคกรดไหลย้อน โรคแผลเปื่อย ป้องกันเลือดออกในทางเดินอาหาร
ผลแลป Hct ต่ำ 26.8 % วันที่29/9/66
ผลแลป Albumin ต่ำ 2.72 g/dL
น้ำหนักตัว 54.7 กิโลกรัม ,ส่วนสูง 173 เซนติเมตร
BMI =18.28 น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
วัตถุประสงค์
ปัญหาทางการพยาบาล : ของเสียคั่งจากไตสูญเสียหน้าที่ในการกรอง
ข้อมูลสนับสนุน
CKD stage 3 ทำ kidney transplant
Pitting edema 1+ both legs
ผลแลป BUN สูง 94.1 mg/dL
Creatinine สูง 5.38 mg/dL
วันที่ 1/10/66
ผลแลป Hct ต่ำ 26.8 % วันที่29/9/66
มีปัสสาวะสีเหลืองเข้ม ตกตะกอน
Intake =1935
Output =320
การพยาบาล
ให้ยา Lasix 250 mg IV drip in 1 hr. Stat
Lasix 1 g IV drip in 24 hr. เพื่อขับน้ำออกเนื่องจากไม่ให้เกิด
heart fail จากไตทำงานสูญเสียหน้าที่
ทำ hemodialysis ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ 4 ชั่วโมง
เมื่อทำ hemodialysis แล้ว BP drop start Levophed 4:100
หลังทำ obs. V/S,HR,RR,ระดับความรู้สึกตัว,BP, O2 sat
3.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำเกิน เช่น บวมที่หลังมือ หลังเท้าและขา อาการน้ำท่วมในปอด เข่น นอนราบไม่ได้ ฟังเสียงได้ยินเสียง
crepitation
4.บันทึกและประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน on ventilator PCV mode IP=16, PEEP = 5 FiO=0.3 , RR=16
6.ควบคุมปริมาณสารน้ำ เข้า-ออก เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะน้ำเกิน
บันทึกจำนวนปัสสาวะ ทุก 8 ชั่วโมง เพื่อประเมินความสมดุลของสารน้ำเข้าออก และ I/O หลัง Lasix หมด
8.ติดตามผลแลป BUN Cr EGFR เพื่อประเมินการทำงานของไตในการกรองของเสีย
9.สังเกตอาการของของเสียคั่งในร่างกาย เช่น ปัสสาวะออกน้อย อาเจียน อ่อนเพลีย
Present illness
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ไอเป็นเลือด1ครั้ง ปริมาณ 1 แก้วน้ำ ปนเสมหะ ไม่มีอาการหอบเหนื่อย
ชื่อ นายพรชัย อภิโชติกร เตียง 5 อายุ 56 ปี
Dx : ARDS (Acute respiratory distress syndrome) กลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน
ปัญหาทางการพยาบาล : ปัญหา respiratory
1.ปัญหาทางการพยาบาล : พร่องออกซิเจนเนื่องจากมีภาวะติดเชื้อที่ปอดทำให้ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
1.
2.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา โดย On PCV mode IP=16 PEEP=5, FiO2=0.3, RR=16
ประเมินสภาพการหายใจ สังเภตอาการและอาการแสดงของการหายใจที่ไม่มีประสิทธิภาพ ประเมิน
เขียวคล้ำ ระดับความรู้สึกตัวลดลง กระลับกระส่าย และอาการแสดงของภาวะคาร์บอนใดออกไซดีคั่งได้แห่ ง่วงซึม มีนศีรษะ เหงื่อออก มือสั่น ตามัว ความดันโลหิตสูง หมดสติ