Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาววันทณีย์ เมืองวงษ์ 64207302025 สาธารณสุขชุมชน ชั้นปีที่ 3,…
นางสาววันทณีย์ เมืองวงษ์ 64207302025 สาธารณสุขชุมชน ชั้นปีที่ 3
มาตรฐานการจัดการ
ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
เทคนิคการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
ประเภทของขยะมูลฝอย
- ขยะทั่วไป
เช่น กระดาษ เศษไม้ กิ่งไม้ ฟาง ข้าว แก้ว กระเบื้อง ยาง เศษอิฐ กรวด ทราย ถุงพลาสติก ควรนำมาใช้ใหม่ได้ก่อนการกำจัด
- ขยะอินทรีย์
ได้แก่ เศษอาหาร เศษผัก ซากสัตว์ มูลสัตว์ ควรนำไปหมักทำปุ๋ย
- ขยะอุตสาหกรรม
ได้แก่ ยาง แบตเตอรี่ ควรแยกชิ้นส่วนที่สามารถนำกลับมาใช้ได้
- ขยะติดเชื้อและขยะอันตราย
ที่ผ่านการใช้ในโรงพยาบาลได้แก่ แบตเตอรี่ กระป๋องสี พลาสติก ฟิล์มถ่ายรูป ถ่านไฟฉาย ทำลายโดยการเผา
การลดอัตราการเกิดขยะมูลฝอย
Refuse
การปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงสิ่งของหรือบรรจุภัณฑ์เช่น กล่องโฟม หรือ ขยะมีพิษอื่น ๆ
Refill
การเลือกใช้สินค้าชนิดเติม
Return
การเลือกใช้สินค้าที่สามารถส่งคืนบรรจุภัณฑ์เช่น ขวดเครื่องดื่มประเภทต่าง ๆ
Repair
การซ่อมแซมเครื่องใช้
Reuse
การนำบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่เช่น ใช้ถุง
Recycle
การแยกขยะเช่น บรรจุภัณฑ์ พลาสติก แก้ว กระป๋องเครื่องดื่มต่าง ๆ
Reduce
การลดการบริโภคและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานของสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ
การคัดแยกขยะมูลฝอย
มี 4 ประเภท
ขยะทั่วไปขยะที่ย่อยสลายยาก
เชาน ซองบะหมี่สําเร็จรูป ถุงพลาสติกเปื้อนอาหาร มีอยู่ประมาณร้อยละ 3
ขยะย่อยสลายได้
เช่น เศษผักเศษอาหารและเปลือกผลไม้มีอยู่ประมาณร้อยละ 46
ขยะรีไซเคิล
เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติกโลหะอโลหะมีอยู่ประมาณร้อยละ 42
ขยะอันตราย
เช่น ขยะติดเชื้อ ขยะพิษ
แหล่งกําเนิดขยะมูลฝอย
ของเสียจากอุตสาหกรรม
ของเสียจากโรงพยาบาล และสถานที่วิจัย
ของเสียจากเกษตรกรรม
ของเสียจากบ้านเรือน และชุมชน
ของเสียจากสถานประกอบการในเมือง
สถานที่กําจัดขยะ
เกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่ของสถานที่กําจัดโดยเตาเผาและสถานที่หมักทําปุ๋ย
ไม่ตั้งอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ํา
ห่างจากแนวเขตโบราณสถานไม่น้อยกว่า 1 กิโลเมตร
ห่างจากชุมชนหลัก ไม่น้อยกว่า 2 กิโลเมตร
เกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอย
ไม่ตั้งอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำ
ห่างจากแนวเขตโบราณสถาน ไม่น้อยกว่า 1 กิโลเมตร
ห่างจากชุมชนหลักไม่น้อยกว่า 1 กิโลเมตร
เกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่ของสถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอย
ไม่ตั้งอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำ
ห่างจากแนวเขตโบราณสถานไม่น้อยกว่า 1 กิโลเมตร
ห่างจากแนวเขตสนามบินไม่น้อยกว่า 5 กิโลเมตร
ห่างจากบ่อน้ำดื่มไม่น้อยกว่า 700 เมตร
ห่างจากแหล่งน้ำธรรมชาตไม่น้อยกว่า 300 เมตร
ลักษณะใต้พื้นดินมั่นคงแข็งแรงพอที่จะรองรับขยะมูลฝอย
ควรเป็นพื้นที่ดอน
ควรเป็นพื้นที่ซึ่งระดับน้ําใต้ดินอยู่ลึก
ควรเป็นพื้นที่ต่อเนื่องผืนเดียวและมีขนาดเพียงพอ กลบได้ไม่น้อยกว่า 20 ปี
ระบบการกําจัดขยะมูลฝอย
การนำกลับมาใช้ใหม่
การนำเอาขยะมูลฝอยที่ยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ กลับมาใช้อีกครั้ง ซึ่งมูลฝอยที่นำมา Recycle
กระดาษ เช่น การนำกระดาษเก่ากลับมาใช้ การทำกระดาษสา
พลาสติก ได้แก่ การนำมาขึ้นรูปใหม่ เช่น เป็นแจกัน ถังขยะ
อลูมิเนียม เช่น กระป๋องอลูมิเนียมเก่าสามารถที่จะนำเข้าสู่กระบวนการผลิตแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้
อลูมิเนียม เช่น กระป๋องอลูมิเนียมเก่าสามารถที่จะนำเข้าสู่กระบวนการผลิตแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้
สามารถลดขยะในสิ่งแวดล้อมได้ ลดต้นทุนในการผลิตได้ เป็นต้น
วัสดุที่นำกลับมาใช้ใหม่บางชนิด อาจมีการปนเปื้อนของสารพิษอยู่
การถม (Dumping)
การถมมูลฝอยไว้บนพื้นดินโดยถมในพื้นที่ที่ต่ำหรือที่ลุ่ม เพื่อต้องการให้ที่นั้นสูงขึ้น เหมาะกับมูลฝอยประเภท เกษตรกรรม อิฐหัก พวกใบไม้ กิ่งไม้
ของการถมบนพื้นดิน คือ เหมาะกับการกำจัดมูลฝอยในชนบท ไม่ทำลายทรัพยากร ไม่ต้องใช้ความรู้มากในการกำจัด
ไม่สามารถใช้กำจัดมูลฝอยได้ทุกประเภท อาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคได้
การนำเอาขยะไปทิ้งทะเล
ไม่ต้องเสียงบประมาณในการใช้ที่ดิน ไม่ต้องแยกประเภทของขยะมูลฝอย
มูลฝอยที่ลอยน้ำได้อาจพัดเข้าหาฝั่งได้ ขยะมูลฝอยเกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศใต้น้ำ
การฝังกลบ (Burial)
1. ข้อกําหนดทั่วไป
แผนที่หรือภาพถ่ายทางอากาศแสดงที่ตั้งใช้ที่ดินโดยรอบในรัศมี 1 กิโลเมตร
แสดงแผนฝังกระบวนการปฏิบัติงานและคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคต
จำนวนวันชั่วโมง บุคลากร เครื่องจักรหนัก อายุสถานที่ฝังกลบ แหล่งประเภทของวัสดุกลบทับ
ประเภทสถานที่ฝังกลบ
1) ขยะมูลฝอยทั่วไป 2) ขยะมูลฝอยย่อยสลายยาก
ขนาดเนื้อที่ใช้ฝังกลบ 4 ชั้น 20 ปี
1) 10-50 ตัน ต่อ 15-70 ไร่
2) 50-100 ตัน/วัน ต่อ 70-130 ไร่
3) 100-300 ตัน/วัน ต่อ 130-380 ไร่
4) 300-500 ตัน/วัน ต่อ 380-620 ไร่
เขตการระบายน้ำทิ้งไม่เกิน 100 เมตรจากขอบเขตพื้นที่หลุมฝังกลบ
สภาพทางธรณีวิทยาควรเป็นชั้นดินหรือชั้นหิน ความหนาขั้นดินไม่น้อยกว่า 3 เมตร
สภาพทางอุทกธรณีวิทยาสำรวจฝังกลบทิศทาง การไหลของน้ำบาดาล
การเผา (Burning)
1. ข้อกำหนดทั่วไป
แผนที่หรือภาพถ่ายทางอากาศแสดงที่ตั้งใช้ที่ดินโดยรอบในรัศมี 1 กิโลเมตร
แสดงแผนฝังกระบวนการปฏิบัติงานและคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคต
กระบวนการเผาและขนาดที่ใช้ออกแบบ
รูปแบบการควบคุมการระบายอากาศเสีย การนำพลังงานความร้อนกลับไปใช้ประโยชน์ การจัดการกากขี้เถ้า
2. ข้อกำหนดในการปฏิบัติงาน
จัดเตรียมเจ้าหน้าที่ ติดประกาศปฏิบัติงานประตูทางเข้า
จัดเตรียมคู่มือปฏิบัติงาน
จัดเตรียมมาตรการตรวจสอบ จัดการมิให้มูลฝอยติดเชื้อ/อ้นตรายปะปนกับขยะมูลฝอยที่กำจัดโดยเตาเผา
ควบคุมเศษขยะมูลฝอย
บันทึกปริมาณขยะมูลฝอย
จัดเตรียมมาตรการป้องกันอัคคีภัย
ติดตามตรวจสอบอากาศเสีย
ต้องบำบัดน้ำเสียจากการปนเปื้อนขยะมูลฝอย
กำจัดกากขี้เถ้าโดยการฝังกลบ
การหมักขยะมูลฝอยทำปุ๋ย (Composting)
1. ข้อกําหนดทั่วไป
แผนที่หรือภาพถ่ายทางอากาศแสดงที่ตั้งใช้ที่ดินโดยรอบในรัศมี 1 กิโลเมตร
แสดงแผนฝังกระบวนการปฏิบัติงาน ปริมาณขยะ สารเติมแต่งและคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคต
กระบวนการเผาและขนาดที่ใช้ออกแบบ
จำนวนชั่วโมงปฏิบัติงาน
2. ข้อกำหนดในการปฏิบัติงาน
จัดเตรียมเจ้าหน้าที่ ติดประกาศปฏิบัติงานประตูทางเข้า
จัดเตรียมคู่มือปฏิบัติงาน
จัดการมิให้มูลฝอยติดเชื้อและย+ขยะอันตรายปะปนกับขยะอินทรีย์
ควบคุมเศษขยะ กลิ่น แมลง ฝุ่นละออง พาหะนำโรค รบกวรด้านสุขอนามัย
คัดแยกเก็บรวบรวมเศษวัสดุที่ไม่ย่อยสลายจากการหมัก
สุ่มตัวอย่างและวิเคราะห์คุณภาพของปุ๋ยหม้ก
ติดตามตรวจสอบน้ำผิวดินภายนอกอาณาเขตที่หมักทำปุ๋ย น้ำนิ่งอย่างน้อย 1 จุด
กำหนดตรวจสอบคุณภาพน้ำ ก่อนเริ่มโครงการ 1 ครั้ง, ทำการสุ่มตัวอย่างวิเคราะห์ปีละ 2 ครั้งในช่วงต้นฤดูฝนและฤดูแล้ง
การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย
ภาชนะสําหรับรองรับขยะมูลฝอย
จัดวางภาชนะรองรับขยะในบริเวณพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่
จัดวางภาชนะรองรับขยะแบบแยกประเภทในอัตราไม่น้อยกว่า 500 ลิตร
ต่อ 50 – 80 หลังคาเรือน หรือต่อประชากร 350 คน
จัดให้มีภาชนะหรือสถานที่ที่ใช้สําหรับเก็บกักขยะแบบแยกประเภท โดยให้มีความจุไม่น้อยกว่า 3 เท่าของปริมาณขยะที่ เกิดขึ้นในแต่ละวัน
สถานที่ที่ใช้สําหรับเก็บกักขยะรวมในชุมชนจะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้
ผนังต้องทําด้วยวัสดุถาวรและทนไฟ
พื้นผิวภายในต้องเรียบและกันน้ำซึม
ต้องมีการป้องกันกลิ่น น้ำฝน และสัตว์คุ้ยเขี่ย
ทําความสะอาดและรวบรวมน้ำเสียที่เกิดจากขยะเพื่อ นําไปบําบัด
มีระบบระบายและถ่ายเทอากาศที่ดี
ตั้งอยู่ห่างจาก แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค หรือสนามเด็กเล่นตาม
ตั้งอยู่ในบริเวณที่สาธารณชนเข้าถึงได้ง่าย
มีรั้วรอบขอบชิด
มีเครื่องหมายแสดงว่าเป็นสถานที่เก็บกักขยะ
จำนวนรถเก็บรวบรวมขยะ
รถยนต์ประเภทเภทเปิดข้าง 4 ลูกบาศก์เมตร/ปชก 2,000 คน
รถยนต์ประเภทเปิดข้าง 10 ลูกบาศก์เมตร/ปชก 5,000 คน
รถยนต์ประเภทเปิดข้าง 12 ลูกบาศก์เมตร/ปชก 12,000 คน
รถยนต์แบบอัดท้าย 8 ลูกบาศก์เมตร/ปชก 12,000 คน
รถยนต์แบบอัดท้าย 10 ลูกบาศก์เมตร/ปชก 15,000 คน
เส้นทางการจัดเก็บ
กำหนดเส้นทางให้จุดสุดท้ายของการเก็บขยะอยู่ใกล้สถานีขนถ่ายขยะ
การจราจรติดขัดมากๆ ให้หลีกเลี่ยงการเก็บรวบรวมในเวลานั้น
ควรเก็บรวบรวมขยะ ในบริเวณที่มีปริมาณมากที่สุดก่อน
พื้นที่ที่มีขยะปริมาณน้อย และมีจุดเก็บรวบรวมอยู่กระจัดให้เก็บเป็นที่สุดท้าย
การมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
องค์ประกอบของการดำเนินงาน
การกำหนดวัตถุประสงค์ของการมีส่วนร่วม
การกำหนดเป้าหมายที่ต้องการ
การกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้ามามีส่วนร่วม
การสร้างข้อตกลงร่วมกันในกระบวนการมีส่วนร่วม
ความสำคัญของการมีส่วนร่วม
เพิ่มคุณค่าในการตัดสินใจเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน
ลดค่าใช้จ่ายและเวลาของหน่วยงานในการแก้ไขปัญหา
ช่วยสร้างฉันทามติร่วมกันของสมาชิกในชุมขนต่อการแก้ไขปัญหา
ช่วยเพิ่มความง่ายต่อการปฏิบัติตามแนวทางการแก้ไขปัญหา
ดำรงไว้ซึ่งความน่าเชื่อถือของผู้นำชุมชน
พัฒนาความคิดสร้างสรรค์
การเสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
การให้ความรู้ความเข้าใจ
การจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครสิ่งแวดล้อม
การประชาสัมพันธ์
การจัดกิจกรรมส่งเสริม
แนวทางการรณรงค์การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยจากครัวเรือน
ส่งเสริมการคัดแยกขยะมูลฝอยจากครัวเรือน
ส่งเสริมให้ครัวเรือนใช้ถุงบรรจุขยะมูลฝอยแบบแยกสี
จัดเก็บถุงบรรจุขยะมูลฝอย
การลดปริมาณขยะมูลฝอยจากครัวเรือน
แนวทางการมีส่วนร่วมในการจัดเก็บค่าธรรมเนียม
สำรวจความคิดเห็น
ประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ทราบ
กำหนดอัตราการจัดเก็บ
จัดทำแผนการใช้เงินที่ได้จากการจัดเก็บให้ชัดเจนโปร่งใส ตรวจสอบได้
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการคัดเลือกพื้นที่ก่อสร้างบ่อฝังกลบ
ติดตามข่าวสารการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น
แสดงความจำนงในการเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นในการประชุม
เข้าร่วมประชุมและแสดงความคิดเห็น
ทำความเข้าใจ เจรจาต่อรองในการแก้ไขปัญหา
ติดตามผลการตัดสินใจและร่วมมือในการดำเนินการ
กรณีศึกษา
การทำธนาคารขยะ สนับสนุนให้ประชาชนรวบรวมขยะแล้วให้ร้านเข้ามารับซื้อ
ตลาดนัดรีไซเคิล จัดตลาดนัดหนึ่งวัน/สัปดาห์ให้ประชาชนนำของที่ไม่ใช้มาจำหน่าย
ถนนปลอดถังขยะ ให้ประชาชนนำขยะมากองมัดปากถุงรวมไว้หน้าบ้านแล้วพนักงานเก็บขนจะมารวบรวม
ซาเล้งเมืองสะอาด ตรวจสุขภาพ แจกถุงมือ มอบเสื้อที่มีแถบสะท้อนแสงให้แก่กลุ่มซาเล้ง
ปุ๋ยหมักและป๋ยน้ำชีวภาพ รวมกลุ่มโดยนำขยะมูลฝอยผสมกับแกลบ ขี้เถ้า กองทิ้งไว้จนย่อยสลายเป็นปุ๋ย
การให้เอกชนดำเนินการเก็บขยะและจัดเก็บค่าธรรมเนียม การจัดเก็บขยะมูลฝอยเกาะ พีพี,การจัดการโดยการจ้างเหมาเอกชน,การกำจัดขยะมูลฝอยรูปแบบ B.O.O
นิยามและความหมาย
ของเสีย
หมายถึงขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล น้ําเสียอากาศเสีย มลสาร หรือวัตถุอันตรายอื่นใดซึ่งถูกปล่อยทิ้งหรือมีที่มาจากแหล่งกําเนิดมลพิษ รวมทั้งกาก ตะกอนหรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านี้ที่อยู่ในสภาพของแข็งของเหลว หรือก๊าซ
ขยะมูลฝอย (Solid Waste)
หมายถึงสิ่งเหลือใช้และสิ่งปฏิกูลที่อยู่ในรูปของแข็ง ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และสัตว์ทั้งจากการบริโภคการผลิตการขับถ่ายการดํารงชีวิตและอื่นๆ
สิ่งปฏิกูล
หมายถึง สิ่งสกปรกของสกปรกของเน่าเปื่อยอุจจาระหรือปัสสาวะและหมายรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น
มลพิษ
หมายถึง ของเสีย วัตถุอันตราย และมวลสารอื่น ๆ รวมถึงรังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือ เหตุรําคาญอื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกําเนิดมลพิษด้วย
นโยบายป้องกันและขจัดมลพิษจากขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
1. องค์ประกอบ
1.1 ประชากรที่จะเพิ่มขึ้น
1.2 เทคโนโลยี ซึ่งจะนํามาใช้ในกิจกรรมต่างๆ
1.3 บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนในการจัดการ ส่งเสริม เฝ้าระวังและสร้างจิตสำนึกของชุมชน
1.4 บทบาทขององค์กรเอกชน มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังและสร้างจิตสำนึกของประชาชน
2. เป้าหมาย
2.1. ลดหรือควบคุมการผลิตขยะมูลฝอยของประชากรในอัตรา ไม่เกิน 1.0 กิโลกรัม ต่อคนต่อวัน
2.2 ให้มีการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของปริมาณขยะมูลฝอย
2.3 ปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างจากการเก็บขนในเขตเทศบาลจะหมดไป และ พื้นที่นอกเขตเทศบาลจะมีปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างไม่เกิน ร้อยละ 10 ของปริมาณขยะมูลฝอย
2.4 ให้ทุกจังหวัดมีแผนหลักและแผนการจัดการ และมีระบบกําจัดขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูลท่ีถูกสุขลักษณะครบถ้วนทุกจังหวัด
3. นโยบาย
3.1 ให้มีการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ต้ังแต่การ เก็บกัก การเก็บขน การขนส่ง และการกําจัด
3.2 ควบคุมอัตราการผลิตขยะมูลฝอยของประชากร และส่งเสริมการนําขยะมูลฝอย กลับมาใช้ประโยชน์
3.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนร่วมลงทุน ก่อสร้าง และ/หรือ บริหารและ ดําเนินระบบจัดการขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูล
3.4 ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรเอกชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไข ปัญหาขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูลมากขึ้น
4. แนวทางการดําเนินการ
4.1 แนวทางด้านการจัดการ
ใช้หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย
จัดเตรียมที่ดินในการกำจัด
จัดระบบหมุนเวียนให้กลับไปใช้ใหม่
สนับสนุนเอกชนดำเนินการและจัดตั้งศูนย์ประสานการนำขยะมูลฝอยมาใช้ใหม่
4.2 แนวทางด้านการลงทุน
ลงทุนก่อสร้างสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย
ส่งเสริมให้เอกชนลงทุนกับการจัดการขยะมูลฝอย
ตั้งศูนย์กําจัดขยะมูลฝอยส่วนกลาง
ปรับปรุงสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย
4.3 แนวทางด้านกฎหมาย
ปรับปรุง แก้ไข กฎหมายที่เกี่ยวกับอัตราค่าธรรมเนียม
กําหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย
กําหนดมาตรฐานการระบายของเสีย
กําหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับการเรียกคืนและใช้ประโยชน์
ปรับปรุงแก้ไขระเบียบกฎหมายเพื่อส่งเสริมให้ภาคเอกชนประชาชนมีส่วนร่วม
5.1 แนวทางด้านการสนับสนุน
สนับสนุนการศึกษา / วิจัย
ฝึกอบรมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
สร้างทัศนคติแก่ประชาชนในการรักษาความสะอาด