Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะ - Coggle Diagram
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะ
กฎหมายที่ใช้ในการรักษาความสะอาดโดยอ้อม
พระราชบัญญัติชลประทานหลวงพ.ศ 2485
มาตรา 28 กำหนดให้ห้ามมิให้ผู้ใดทิ้งมูลฝอยสร้างสัตว์ ซากพืชเถ้าถ่านหินสิ่งปฏิกูลลงในทางชลประทานหรือทำให้น้ำเป็นอันตรายแก่การเพาะปลูกหรือการบริโภค
ซึ่งหากผู้ใดฝ่าฝืนมีความผิดจะต้องระวังโทษจำคุกไม่เกิน 10 วันหรือปรับไม่เกิน 50 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา 36
พระราชบัญญัติจัดวางการรถไฟและทางหลวงพ.ศ 2494
มาตรา 82 สรุปได้ว่าผู้ใดปล่อยขยะมูลฝอยซึ่งอาจเป็นเหตุเกิดความเสียหายแก่รถไฟมีความผิดลหุโทษต้องระวังโทษชั้น 3
พระราชบัญญัติทางหลวงพ.ศ 2535
มาตรา 45 กำหนดให้มิให้ผู้ใดทิ้งขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูลน้ำเสียน้ำโสโครกเศษหินดินทรายตกหล่นบนทางจราจร 1 ในทางซึ่งหากผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับมาตรา 71
พระราชบัญญัติรักษาพระองค์รัตนโกสินทร์ทรศก 121 พ.ศ 2445
มาตรา 6 ห้ามมีให้ผู้ใดเอาอยากเยื่ออุ่นฝอยหรือสิ่งโสโครกเททิ้งในคลองและห้ามมีให้เทสิ่งของดังกล่าวลงในทางน้ำ ลำคู ซึ่งเลื่อนไหลมาลงคลองได้โดยผู้ใดกระทำผิดต่อมาตรานี้ได้กำหนดบทลงโทษให้ปรับไม่เกิน 20 บาทหรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือนเหตุทั้งซ้ำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติควบคุมอาคารพ.ศ 2522
มาตรา 8 กำหนดให้อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องมีการจัดเก็บขยะมูลฝอยโดยวิธีขนลำเลียงหรือทิ้งลงปลงทิ้งขยะมูลฝอยและต้องจัดให้มีที่พักขยะมูลฝอยรวม
พระราชบัญญัติรักษาคลองประปาพ.ศ 2526
มาตรา 15 ถ้ามีให้ผู้ใดทิ้งซากสัตว์ซากพืชเท่าทานหรือสิ่งปฏิกูลลงในเขตคลองประปาครองรับน้ำหรือคลองขังน้ำหากผู้ใดฝ่าฝืนมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือนปรับไม่เกิน 2,000 บาทหรือทางจำทางกลับมาตรา 19
กฎหมายที่ใช้ในการรักษาความสะอาดโดยตรง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
มาตรา 73 บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร ช่วยเหลือในการป้องกัน และบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ ปกป้อง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิ ปัญญาท้องถิ่น และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งนี้ตามที่ กฎหมายบัญญัติ
มาตรา 85 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาตรา 67 สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการ อนุรักษ์บำรุงรักษาและการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครองส่งเสริม และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดำรงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม
มาตรา 86 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยพัฒนาและใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทนซึ่งได้จากธรรมชาติและเป็นคุณต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชน ท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติและมีส่วนร่วมในการจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน
มาตรา 290 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอำนาจหน้าที่ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมายบัญญัติอย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังนี้ การจัดการบำรุงรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่ การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพื้นที่เฉพาะในกรณีที่มีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน การมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมหรือสุขขับภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น
มาตรา 57 บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยราชการหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น ก่อนการอนุญาตหรือการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสำคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนท้องถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปประกอบการพิจารณาในเรื่องดังกล่าว
พระราชบัญญัติสาธารณสุขพ.ศ 2535 หมวด 3 การกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
มาตรา 20 เพื่อประโยชน์ในการรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บขนและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจเอาข้อกำหนดของท้องถิ่น ห้ามการถ่ายเททิ้งหรือทำให้มีขึ้นในที่สาธารณะซึ่งสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยนอกในที่ราชการส่วนท้องถิ่นจัดไว้ให้ กำหนดให้มีที่รองรับสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยตามที่หรือทางสาธารณะและสถานที่เอกชน กำหนดการเก็บผลและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยหรือให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร 1 สถานที่ใดๆปฏิบัติให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะตามสภาพและสถานที่นั้นๆ
มาตรา 19 ห้ามมีให้ผู้ใดดำเนินกิจการรับทำการเก็บคนหรือกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยโดยทำเป็นธุรกิจหรือโดยได้รับประโยชน์ตอบแทนด้วยการคิดค่าบริการเว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น
มาตรา 18 การกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยในเขตราชการส่วนท้องถิ่นใดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นนั้น ในกรณีที่มีเหตุผลอันสมควรราชการท้องถิ่นอาจมอบให้บุคคลใดดำเนินการตามวรรค 1 แทนภายใต้การควบคุมดูแลของราชการส่วนท้องถิ่นหรืออาจอนุญาตให้บุคคลใดเป็นผู้ดำเนินการกำจัดสิ่งโมเลกุลมูลฝอยตามมาตรา 19 ก็ได้
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ 2535
มาตรา 78 การเก็บรวบรวมการขนส่งและการจัดการด้วยประการใดๆเพื่อบำบัดและขจัดขยะมูลฝอยและของเสียพื้นที่อยู่ในสภาพเป็นของแข็งการป้องกันและควบคุมมลพิษที่เกิดจากหรือมีที่มาจากกันทำเหมืองแร่ทั้งบนบกและในทะเลการป้องกันและควบคุมมลพิษที่เกิดจากหรือมีที่มาจากการสำรวจและขุดเจาะน้ำมันก๊าซธรรมชาติและสารไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดทำบุญและในทะเลหรือการป้องกันและควบคุมมลพิษที่เกิดจากหรือมีที่มาจากการปล่อยทิ้งน้ำมันและการทิ้งเทสของเสียและวัตถุอื่นๆจากกระบวนการเดินทางทะเลเรือบรรทุกน้ำมันและเรือประเภทอื่นให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
มาตรา 79 กรณีที่ไม่มีกฎหมายในบัญญัติไว้ด้วยเฉพาะให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดชนิดและประเภทของเสียอันตรายที่เกิดจากการผลิตการใช้สารเคมีหรือวัตถุอันตรายในกระบวนการผลิตตามอุตสาหกรรมเกษตรกรรมการสาธารณสุขและกิจกรรมอย่างอื่นให้อยู่ในความควบคุม
มาตรา 38 แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดที่จะเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติจะต้องเป็นแผนปฏิบัติการที่เสนอระบบการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามแนวทางที่กำหนดไว้ในแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยคำนึงถึงสภาพความรุนแรงของปัญหาและเงื่อนไขต่างๆในด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนั้น
พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยบ้านเมืองพ.ศ 2535
กฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในท้องถิ่น
1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ 2550ได้แก่มาตรา 57 67 และ 290
2 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครพ.ศ 2528 ได้แก่มาตรา 89
3 พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัดพ.ศ 2540 ได้แก่มาตรา 45
4 พระราชบัญญัติเทศบาลพ.ศ 2496 ได้แก่มาตรา 50 50 53 และ 56
5 พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ 2537 ได้แก่มาตรา 23
6 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยาพ.ศ 2521 ได้แก่มาตรา 67
กฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดขยะมูลฝอยติดเชื้อพ.ศ 2545
1 สร้างหรือชิ้นส่วนของมนุษย์หรือสัตว์ที่เป็นผลมาจากการผ่าตัดการตรวจชันสูตรศพหรือซากสัตว์และการใช้สัตว์ทดลอง
2 วัสดุของมีคมเช่นเข็มใบมีดกระบอกฉีดยาหลอดแก้วภาชนะที่ทำด้วยแก้วสไลด์และแผ่นกระจกเป็นสไลด์
3 วัสดุซึ่งสัมพันธ์หรือสงสัยว่าจะสัมผัสกับเลือดส่วนประกอบของเลือด ผลิตภัณฑ์ธุ์ที่ได้จากเลือดน้ำจากร่างกายมนุษย์หรือสัตว์หรือวัคซีนที่ทำจากเชื้อโรคที่มีชีวิตและท่อยาง
4 มูลฝอยทุกชนิดที่มาจากห้องรักษาผู้ป่วยติดเชื้อร้ายแรง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยอุตสาหกรรมพระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ 2535
ที่ตราขึ้นเพื่อการควบคุมการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมตามบทเฉพาะการของกฎหมายดังกล่าวได้นำประกาศกฎกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 25 พ.ศ 2531 และประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมฉบับที่ 1 พ.ศ 2531 ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ 2512 มาใช้บังคับภายใต้กฎหมายดังกล่าวมีการกำหนดหลักเกณฑ์ให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมโดยทำการเก็บรวบรวมและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต้องมีการเก็บทำลายฤทธิ์กำจัดฝังทิ้งและเคลื่อนย้ายตามวิธีที่กำหนดไว้
พระราชบัญญัติวัตถุอันตรายพ.ศ 2535
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้วัตถุอันตรายหมายความว่าเป็นวัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตภาพรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่น
มาตรา 18 วัตถุอันตรายแบ่งออกตามความจำเป็นแก่การควบคุม
มาตรา 45 ห้ามมีให้ผู้ใดผลิตนำเข้าส่งออกหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 หรือวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 (1) วัตถุอันตรายปลอม (2) วัตถุอันตรายผิดมาตรฐาน (3) วัตถุอันตรายเสื่อมคุณภาพ (4) วัตถุอันตรายที่ต้องขึ้นทะเบียนแต่มิได้ขึ้นทะเบียนไว้ (5) วัตถุอันตรายที่ถูกสังเพิกถอนทะเบียน
มาตรา 86 ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติการ ตามมาตรา 54 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่ง เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา 88 วัตถุอันตรายที่ผลิตนำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ใน ครอบครองโดยไม่ชอบ ด้วยพระราชบัญญัตินี้ ภาชนะของวัตถุอันตราย ดังกล่าว เครื่องมือและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง หรือ ทรัพย์สินใดบรรดาที่ศาล มีคำพิพากษาให้ริบ ให้ส่งมอบแก่หน่วยงานที่รับผิดชอบควบคุมวัตถุ อันตรายดังกล่าวเพื่อทำลายหรือจัดการตามที่เห็นสมควรต่อไป ในกรณีที่ ต้องทำลายให้ศาล
มาตรา 84 ผู้ใดโดยเจตนาหรือโดยประมาทรับจ้างทำฉลากที่ไม่ ถูกต้องตามกฎหมาย หรือรับจ้างติดตรึงฉลากที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือรับจ้างทำลายส่วนอันเป็นสาระสำคัญของ ฉลากที่ถูกต้องตาม กฎหมาย สำหรับวัตถุอันตรายอย่างหนึ่งอย่างใดตามความในหมวด 2 ต้อง ระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
หมวด 4 บทกำหนดโทษ มาตรา 82 ผู้ใดโดยเจตนาก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในแหล่งกำเนิด สภาพ คุณภาพ ปริมาณ หรือสาระสำคัญประการอื่นอันเกี่ยวกับวัตถุ อันตราย ไม่ว่าจะเป็นของตนเองหรือผู้อื่นทำ หรือใช้ฉลาก ที่มีข้อความอัน เป็นเท็จหรือข้อความที่รู้หรือควรรู้อยู่แล้วว่าอาจก่อให้เกิดความ เข้าใจผิด เช่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ