Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พศ. 2540 (10 ฉ.) - Coggle Diagram
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พศ. 2540 (10 ฉ.)
2.การเลือกตั้งสมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (+6)
เกิน 1ล้าน คน แต่ไม่เกิน1.5 ล้าน ให้เลือกสภา 36 คน
เกิน 1.5 ล้านคน แต่ไม่เกิน 2ล้าน ให้เลือกสภา 42 คน
เกิน 5 แสน คน แต่ไม่เกินล้าน ให้เลือกสภา 30 คน
ไม่เกิน 5 แสน คน ให้เลือกสภา 24 คน
เกิน 2ล้านขึ้นไป ให้เลือกสภา 48 คน
วาระ 4ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง
18 คน เทศบาลเมือง
12 เทศบาลตำบล
6 คน อบต
24 คน เทศบาลนคร (เมืองพัทยา /อบจ/ไม่เกิน 5แสน)
ให้มีประธาน อบจ 1 คน รอง 2 คน เมื่อตำแหน่ง ประธานหรือรอง ว่าง ให้สมาชิก เลือก สจที่อยู่ในสภา มาแทน ภายใน 15 วัน
3.สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดจะสิ้นสุดเมื่อ
ตาย
ถึงคราวออกตามอายุ
ขาดประชมติต่อกัน
องค์การมีมติให้พ้น หรือขากคุณสมบัติ
ลาออก
คนในจังหวัดมีจำนวนไม่น้อย 3ใน4ผู้มีสิทเลือกตั้ง
4.หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับสภาพสมาชิกองค์การ
ผู้ว่าราชการจัหงวัด สอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ว
การยุบสภาองค์การ ก็ต่อเมื่อสมาชิกองค์สิ้นสุดพร้อมกันทั้งหมด
5.กฏหมายท้องถิ่น
5 ฉบับ พรบ.อบจ
7 ฉบับ พรบ. อบต
3 ฉบับ พรบ เมืองพัทยา
14 ฉบับ พรบ. เทศบาล
1.พรบ.ที่พูดถึงคุณสมบัติของ
สภาองค์การ
อายุไม่ต่ำกว่า 25
มีชื่อในทะเบียนเขตเลือกตั้ง ไม่นอยกว่า 1 ปี
คนไทย
วาระ4ปี นับตั้งแต่วันเลือกตั้ง
พ้นจากสมาชิกท้องถิ่นเนื่องมีส่วนได้เสียสัญญาหรือกิจการ พ้น 5 ปี
นายกองค์
คนไทย
อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี
วุฒิการศึกษา ป.ตี (ยกเว้น นายก อบต.ม.ปลาย)
วาระ 4 ปีแต่ไม่เกิน 2วาระติดต่อกัน
ไม่เป็นผู้พ้นจากตำแหน่งสภาท้องถิ่น
ผู้มีสิทเลือกตั้ง
อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี ในวันเลือกตั้ง
ชื่ออยู่ในทะเบียน ไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันเลือกตั้ง
ไทย แปลงสัญชาติไม่น้อยกว่า5 ปี
ผู้ไม่สิทเลือกตั้ง
พระ / เพิก / ขัง /บ้า
มีทั้งหมด 10 ฉบับ
ใช้อนาจเพื่อกระจสยอำาจการปงครองส่วนตำบล ปรับบทบาทและอำานจหน้าที่ขององค์บริการส่วนจังหวัดให้สอดคล้อง ฉ.1 (2540)
ฉ. 5 (2562)
ผู้รักษาการ องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น
คือ รัฐมตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ผู้รับสนอง คือ นายก
สรุปภาพรวม
หมวดที่ 3 นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (คุณสมบัติ/ คนช่วยงาน รองนายก/เลขา/มราปรึกษา/การแถลงนโยบาย)
หมวดที่ 4 อำนาจหน้าที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (ออกข้อบัยญิติได้ โดยไม่แย้งกับกฏหมายอื่น)
หมวดที่ 2 องค์การบริหารส่วนจังหวัด (คุณสมบัติ/ ในสภาจำนวนสมาชิกสภา/ประชุม)
หมวดที่ 5 งบประมาณและการคลัง (เวลา อบจ ดำเนินการออกรายจ่าย ออกเป็นข้อบัญญัติ)
หมาวดที่ 1 บททั่วไป (สภา+นายก เป็นฝ่ายนิติบุคคล คือจัดบริหารตัวเองได้)
หมวดที่ 6 การกำกับดูแล (ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้ดูแล)
การประชุม อบจ.
ใน 1 ปีมีการประชุม 2 สมัย สมัยสามัญ (สมัยปกติ) ครั้งแรก ผู้ว่าเรียกประชุมหลังเลือกตั้ง 15 วัน
สมัยประชุมสามัญ 45 วัน
ขยายได้ครั้งละไม่เกิน 15 วัน
อบจ สามารถออกกฏหมายได้ >> ข้อบัญญัติ
ใครร่างกฏหมาย
นายก อบจ/สจ/คนที่มีสิทเลือกตั้ง เสนอผ่าน สภา อบจ
ใครเห็นชอบ
ผู้ว่าจังหวัด
ใครลงนามประกาศใช้
นายกอบจ.
การคำนวณ สจ
มีไม่ถึงเกณฑ์
ถ้ามี คน 480000 คน นำหาร 24 เท่ากับ 20000
คำนวณเพิ่ม
ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติราชการ/รักษาราชการแทน
รักษาราชการแทน นายก >> รองนายก >> ปลัด อบจ.
ปฏิบัติราชการแทน /ปฏิบัติราชการแทน
นายกมอบอำนจให้รอง ต้องทำ เป็นหนังสือ
นายกมอบให้ปลัดหรือคนอื่น ทำเป็น คำสั่ง
องค์บริหารส่วนจังหวัด
เป็นนิติบุคคล
เป็นราชการส่วนท้องถิ่น
ไม่ใช่ เขตปกครองตนเอง และองค์ส่วนท้องถิ่น