Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการเลือกกลุ่มตัวอย่าง, กลุ่ม 66/2, นางสาวแก้วอุษา แสงเขียว …
การออกแบบการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
การเลือกตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น
(probability sampling)
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
(Multi-stage random sampling)
เป็นการผสานวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างสุ่มหลายวิธีมาใช้ด้วยกันตามความเหมาะสม
ถ้าใช้การสุ่ม 2 ครั้ง ก็เรียก Two-stage sampling
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (stratified random sampling)
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบนี้มักใช้กับประชากรที่มีลักษณะแตกต่างกันที่สามารถแยกเป็นกลุ่มย่อยๆ ตามลักษณะที่แตกต่างกันได้ แต่ละชั้นแตกต่างกัน แต่ภายในชั้นเดียวกันมีลักษณะเหมือนกัน
การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (systematic random sampling)
เป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างที่ได้มีการเรียงลำดับอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว การสุ่มแบบมีระบบทำได้โดยการเลือกหน่วยตัวอย่างแรกแบบสุ่ม จากหน่วยที่ 1 ถึงหน่วยที่k และเลือกหน่วยตัวอย่างถัดไปทุกๆk หน่วย จนครบตามขนาดตัวอย่างn หน่วยที่ต้องการ
การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling)
วิธีการจับฉลาก
วิธีการใช้ตารางเลขสุ่ม
วิธีใช้คอมพิวเตอร์ในการสุ่ม
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหรือแบ่งพื้นที่
(cluster random sampling or area random sampling)
เป็นการดัดแปลงมาจากวิธีการสุ่มอย่างง่าย
ผู้วิจัยอาจจะใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์หรือภูมิประเทศในการแบ่งกลุ่ม
แต่จะมีประสิทธิภาพต่ ากว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างเท่ากัน
ข้อแตกต่างระหว่างการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นกับแบบแบ่งกลุ่มคือ การสุ่มแบบแบ่งชั้นเมื่อแบ่งประชากรออกเป็นระดับชั้นแล้ว สุ่มมาเข้าเป็นกลุ่มตัวอย่างจากทุกระดับชั้น ส่วนการสุ่มแบบแบ่งกลุ่มนั้น สุ่มเพียงบางกลุ่มมาศึกษาเท่านั้น
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
(population)
ประชากรที่สามารถหาจำนวนที่แน่นอนได้
ประชากรที่ไม่สามารถหาจำนวนที่แน่นอนได้
กลุ่มตัวอย่าง (sample)
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการศึกษา
ขนาดตัวอย่าง
(sample size)
เรียกว่า หน่วยตัวอย่าง
(sampling unit)
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนขนาดตัวอย่าง คือ
nโดย ค่า n จะมีค่าน้อยกว่าค่า N
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนขนาดประชากร คือ N
เหตุผลที่ส่วนใหญ่นิยมทำการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ลดค่าใช้จ่าย
ทำได้รวดเร็วกว่า
การเก็บรวบรวมข้อมูลของประชากรจากทุกหน่วยอาจท าให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายสูง
การเลือกตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น
(non-probability sampling)
การเลือกตัวอย่างโดยบังเอิญ
(accidental sampling)
เป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างที่ไม่มีหลักเกณฑ์
ลือกใครก็ได้ที่สามารถให้ข้อมูลได้แต่ต้องอยู่ในคุ้มรวมของประชากรที่สนใจศึกษา
การเลือกตัวอย่างแบบโควต้า
(quota sampling)
ทำการจำแนกประชากรออกเป็นส่วนย่อยๆ ก่อน(strata)
โดยตัวแปรที่ใช้ในการจำแนกควรจะมีความสัมพันธ์กับตัวแปรที่สนใจศึกษา
พิจารณาขนาดตัวอย่างของแต่ละส่วนย่อย เพื่อกำหนดเป็นโควตา
การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง(purposive sampling)
หรือการเลือกตัวอย่างแบบใช้วิจารณญาณ(judgment sampling)
เลือกตัวอย่างโดยใช้ดุลพินิจและการตัดสินใจของนักสถิติเป็นหลัก
การพิจารณาเลือกตัวอย่าง ว่ามีลักษณะสอดคล้องหรือเป็นตัวแทนที่จะศึกษาได้หรือไม่
้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการสำรวจหรือไม่
การเลือกตัวอย่างแบบก้อนหิมะ
หรือ แบบสโนว์บอลล์
(snowball sampling)
นักวิจัยเริ่มต้นจากการกำหนดลักษณะของหน่วยตัวอย่างที่ต้องการแล้วเลือกหน่วยตัวอย่างรายแรก
ให้หน่วยตัวอย่างรายนี้แนะนำผู้ที่จะเป็นหน่วยตัวอย่างต่อๆ ไป จนได้กลุ่มตัวอย่างครบตามจำนวนที่ต้องการ
กลุ่ม 66/2
นางสาวแก้วอุษา แสงเขียว 66U54620103