Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ - Coggle Diagram
สิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
ทางกายภาพ เช่น อากาศ น้ำ ดิน ที่อยู่อาศัย ภูมิอากาศ ภูมิภาค ภูมิศาสตร์ แสง เสียง รังสี
ทางชีวภาพ เช่น มนุษย์ ไวรัส จุลินทรีย์ แมลง สัตว์และพืช
อันตรายที่เกิด
อันตรายทางชีวภาพ
ทางน้ำ เช่น ไวรัสโปลิโอ ไวรัสตับอักเสบเอ
ป้องกันโดย กรองน้ำให้สะอาดบริสุทธิ์ ไม่มีการปนเปื้อน
อาหาร เช่น แบคทีเรีย salmonella serotype, Escherichia coli
ป้องกันโดย ตรวจสอบร้านอาหาร ร้านค้าปลีก คุณภาพอาหารอยู่เป็นประจำ
แมลง เช่น เกิดไข้รากสาดของหนูลาครอส โรคไข้สมองอักเสบโดยยุง และโรคระบาดอื่นๆ
ป้องกันโดยตรวจสอบพื้นที่ จัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขอนามัย ไม่เกิดพาหะนำโรค
สารเคมี เช่น ยาฆ่าแมลงที่ใช้ในการเกษตร
ป้องกันโดย ใช้อย่างถูกวิธี มีชุดสวมป้องกัน และลดปริมาณในการใช้ยาฆ่าแมลง
ควันบุหรี่ เช่น เกิดโรคมะเร็งปอด พบมากในที่สาธารณะ
ป้องกันโดย ติดป้ายห้ามสูบบุหรี่หรือรณรงค์เพื่อลดปริมาณควันบุหรี่
อันตรายทางกายภพ
สถานที่ เช่น ภัยพิบัติ พายุไซโคลน แผ่นดินไหว น้ำท่วม และอื่นๆ
จิตใจ เช่น เกิดภาวะเครียด ซึมเศร้า หรือ hysteria จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
สารตะกั่ว ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ความพิการแต่กำเนิด กระดูกผิดปกติ ระบบประสาทบกพร่อง
สัมผัสก๊าซ Radon มากเกินไป ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปอดได้
น้ำ
ฝน : ปราศจากสารก่อโรค
อาจมีสิ่งเจือปนคือกรดซัลฟิวริกและกรดไนตริก ทำให้เกิดเป็นฝนกรด
น้ำจากผิวดิน
อาจมีการปนเปื้อนจากคนหรือสัตว์ เช่น สารอินทรีย์ แบคทีเรีย และไวรัสต่างๆ
อ่างเก็บน้ำ
น้ำค่อนข้างมีคุณภาพ หากไม่มีการปนเปื้อนจากการบุกรุกจากคนหรือสัตว์
ความต้องการเพื่ออยู่รอดประมาณ 2 ลิตรต่อวัน
น้ำที่ดีต้องปราศจากสารต่างๆที่ทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย
แหล่งน้ำ
Tanks
มีการปนเปื้อนสูง
ควรทำความสะอาดเมื่อหมดฤดูแล้งหรือใช้การกรองทราย
น้ำทะเล
มีเกลือปนอยู่ประมาณ 3.5%
น้ำบาดาล
มีการปนเปื้อนเล็กน้อย แต่มีแร่ธาตุสูง
Spings
เกิดจากธรรมชาติ อาจมีการปนเปื้อนจากคนหรือสัตว์
สุขภิบาลอาหาร
การปนเปื้อน คือ การที่มีเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายอยู่ เช่น อาหารที่เน่าเสีย
ส่งผลให้เกิดปัญหาทางสุขภาพและทำให้เจ็บป่วย
Botulism
พบในอาหารกระป๋องและปลารมควัน
อาการ มองเห็นภาพซ้อน กลืนไม่ได้ ระบบหายใจล้มเหลว
ป้องกันโดยห้ามรับประทานอาหารกระป๋องที่บุบ รั่ว ชำรุด
Salmonella
ป้องกันโดยการล้างมือ ปรุงอาหารสุกด้วความร้อน 140 องศาเซลเซียส และใช้ภาชนะใส่อาหารที่สะอาด
พบในสัตปีก เช่น ผลิตภัณฑ์จากนม
อาการ : ปวดศีรษะ อาเจียน ท้องเสีย ตะคริว มีไข้
Staph Poisonings
พบในคัสตาร์ด สลัดไข่ แฮม สลัดมันฝรั่งและอื่นๆ
Perfringens poisoning
พบในซุป น้ำเกรวี่จากสัตว์ปีก หรือเนื้อแดงและสตูว์
ใช้การปรุงสุกเพื่อฆ่าเชื้อ แต่ไม่สามารถฆ่าสปอร์ แช่เนื้อสัตว์ น้ำเกรวี่ในตู้เย็นทันที
อาการ : คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย กระเพาะหรือลำไส้อักเสบ
E. Coli
พบในเนื้อวัวบด น้ำที่ปนเปื้อน นมที่ไม่ผานการพาสเจอไรซ์
อาการ : ถ่ายเป็นเลือด ตะคริว เม็ดเลือดแดงถูกทำลาย
ไตวาย
Staphylococcal
พบในเนื้อและผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ เช่น สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากไข่ อาหารประเภทสลัด
อาการคลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน
เป็นตะคริวในช่องท้องและอ่อนเพลีย
การระบายอากาศ
ความหมาย
จัดแต่งบริเวณบ้านและห้องให้มีอากาศบริสุทธิ์
การทดแทนอากาศเหม็นอับด้วยอากาศบริสุทธิ์
มีการใช้เครื่องปรับอากาศเพื่อการหมุนเวียนของอากาศ
การควบคุมความชื้น
ความชื้นส่วนเกินในวัสดุก่อสร้างทำให้เกิดปัญหาด้านโครงสร้าง เช่น สีลอก โลหะเกิดสนิม
ป้องกันโดย ใช้ท่อไอเสียระบายอากาศ จำกัดความชื้น ความความสะอาดวัสดุต่างๆ ใช้สารเคลือบหรือสารเติมแต่งต้านจุลชีพ
วัสดุตกแต่งที่เป็นอันตราย
ฟอร์มาดีไฮด์และสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย
ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม เช่น สารเคลือบไม้
ภาชนะบรรจุสเปรย์
ยาฆ่าแมลง
การควบคุม
ใช้ผลิตภัณฑ์ในปริมาณน้อยที่สุด
อ่านฉลและปฏิบัติตามข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย
ใช้สารเคมีในครัวเรือนตามวัตถุประสงค์เท่านั้น
เก็บผลิในครัวเรือนไว้ในภาชนะเดิม
ใช้ผลิตภัณฑ์ครัวเรือนในบริเวณที่มีการะบายอากาศ
ทำความสะอาด กำจัดคราบสิ่งสกปรกและเศษอาหารทันที
ไม่สูบบุหรี่ในบ้าน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดผลเสีย
ไม่ของตกแต่งบ้าน
บรรจุภัณฑ์ต่างๆ
เศษอาหารที่เหลือ
ไลฟสไตล์ที่อยู่อาศัย
การเลี้ยงสัตว์ในบ้าน
ของเสีย : ขยะ
ของเสีย คือวัสดุที่ไม่พึงประสงค์หรือไร้ประโยชน์
จำเป็นที่จะต้องกำจัดออก
ประเภทของเสีย
ขยะมูลฝอย : ในรูปของแข็ง ขยะครัวเรือน ขยะพาณิชย์และอุตสาหกรรม
ของเสียที่เป็นของเหลว : สารเคมี น้ำมัน น้ำเสียจากบ่อ และแหลางอุตสาหกรรมการผลิต
ผลกระทบ
พิษจากสารเคมีจากการสูดดมสารเคมี
เกิดการอุดตันของท่อระบายต่างๆ
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อย
มีความผิดปกติแต่กำเนิด
โรคทางระบบประสาท
คลื่นไส้อาเจียน
พิษจากสารปรอทจากการกินปลาที่มีสารปรอทสูง
สัตว์บกและสัตว์น้ำเสียชีวิตหรือเกืดโรคจากการกินเศษขยะต่างๆ
ดินและน้ำเสื่อมสภาพลง
ภูมิอาเปลี่ยนแปลง ชั้นโอโซนถูกทำลาย
ปัญหา
เกิดจากการกำจัดขยะไม่เหมาะสม
มีพาหะนำโรคเพิ่มมากขึ้น
ระบบนิเวศนเสียหาย ไม่หมุนเวียน
การกำจัดขยะมูลฝอยที่ดิน
พื้นที่น้อย
เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชากร
เป็นการจัดระยะสั้น
ประชากรต่อต้านการกำจัดขยะประเภทนี้
การกำจัดขยะแบบบูรณาการ
ลดแหล่งที่มาของขยะ
นำกลับมาใช้ใหม่
กู้คืนทรัพยากร
ทำปุ๋ยหมัก
การเผา
การฝังก
การแก้ไขปัญหา
วางแผน
ออกแบบ
ก่อสร้าง
ดำเนินการ
การรวบรวม
การขนส่ง
การแปรรูป
การกำจัดของเสีย
การพยาบาลสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
ความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากมนุษย์
ระบบนิเวศถูกทำงาย ส่งผลให้เกิดการสูญพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างๆทั้งพืชและสัตว์
เกิดมลพิษต่างๆ ทั้ง ดิน น้ำ อากาศ
ส่งผลให้เกิดปัญหาทางสุขภาพต่างๆ
เจ็บป่วยและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น
พาหะนำโรคต่างๆ เพิ่มมากขึ้น
มนุษย์เกิดความเครียด
พืชผลเสียหาย
มีโรคติดต่อ
บทบาทของพยาบาลในด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ให้ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับสุขภาพต่อสิ่งแวดล้อม และวิธีป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสุขภาพ
เป็นผู้นำในการปฏิบัติ สนับสนุน และลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมพัสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่สนับสนุนสุขภาพ
ร่วมมือกับเพื่อนร่วมงานแบบสหวิทยาการ
ประเมินและสื่อสารความเสี่ยงของอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
สนับสนุนนโยบายที่ปกกันอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
การสร้างผลงานวิจัยแบบสหวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพต่อสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยทางระบบนิเวศ
อาหาร
น้ำ
ออกซิเจน
สภาพภูมิอากาศ
ชั้นโอโซนปกป้องรังสียูวี
วัฏจักรโตรเจนและฟอสฟอรัส
ระบบกำจัดสารพิษจากธรรมชาติและดินที่อุดมสมบูรณ์
อนามัยสิ่งแวดล้อมเป็นรากฐานการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
สิ่งที่ควรมีสพหรับการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
ปลอดภัย
เข้าถึงได้ง่าย
มีประสิทธิภาพ
มีการประสานงานอย่างดี เป็นระบบ
ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
มุ่งเน้นดูแลสุขภาพของประชากร
ดูแลตามแนวทาง PHC
บทบาทหน้าที่ของพยาบาล
เป็นแบบอย่างและสนับสนุนแนวทางที่ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมในการดูแลสุขภาพโดยไม่กระทบต่อความปลอดภัยของผู้ป่วย
ลดผลกระทบด้านลบจากกิจกรรมของตนที่มีต่อสิ่งแวดล้อม และแสวงหาแนวทางแก้ไขสำหรับอุปสรรคที่มีอยู่
เผยแพร่ข้อมูลสู้สาธารณะเกี่ยวกับการป้องกันความเสี่ยงต่อสิ่งเเวดล้อม
ประเมินและระบุความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้