Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ออแกเนลล์ - Coggle Diagram
ออแกเนลล์
ไลโซโซม
โครงสร้าง
เป็นออร์แกเนลล์ที่มีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่ 0.1 – 1 ไมครอน เป็นถุง มี
เยื่อหุ้ม 1 ชั้น ภายในบรรจุเอนไซม์ประมาณ 60 ชนิด
เอนไซม์เหล่านี้จะทํางานได้ดีที่ pH 5.0 ทําให้ภายในไลโซโซมมีความเป็นกรดสูงมาก
เยื่อหุ้มของไลโซโซมพบเอนไซม์ H+ ATPase เกี่ยวข้องกับการปั๊มโปรตรอน เข้าสู่ภายในไลโซโซมโดยใช้ ATP เพื่อรักษาสภาวะกรดภายในไลโซโซมให้เหมาะกับการทํางานของเอนไซม
ชนิด
Primary lysosomes สร้างใหม่จาก golgi apparatus และยังไม่เคยย่อยสารใดๆ มีขนาดเล็ก ภายในมีเอนไซม์บรรจุอยู่หลายชนิด เอนไซม์นี้ได์มาจากการสังเคราะห์ของไรโบโซมที่เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม
Secondary lysosome Primary
lysosomes ที่มีการย่อยเกิดขึ้น แต่ยังคงเหลือนํ้าย่อยพอที่จะย่อยต่อไปได้อีก
-
แวคิวโอล
สารที่พบ
-
-
-
-
-
-
เกลืออนินทรีย์ต่างๆ : เกลือไนเตรต ซัลเฟต ฟอสเฟต คลอไรด์ของโซเดียม โปตัสเซียม แคลเซียม เหล็ก แมกนีเซียม
-
-
-
ชนิด
-
ฟูดแวคิวโอล บรรจุอาหาร พบในโปรโตซัวพวกอะมีบาและพวกที่มีซิเลีย เซลล์เม็ดเลือดขาวและฟาโกไซติคเซลล์อื่นๆ บางครั้งอาจพบในพวกฟองนํ้า พยาธิตัวแบนและหอยอีกหลายชนิด
คอนแทรคไทล์แวคิวโอล ขับนํ้าที่มากเกินความต้องการออกจากเซลล์ พบในเซลล์ของโปรโตซัวหลายชนิด : อะมีบา พารามีเซียม
การเกิด
เกิดมาจากเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม ที่มีนํ้าเข้าไปสะสมและหลุดขาดออกมาเป็นถุงหรืออาจเกิดจากกระเปาะเล็กของกอลจิคอมเพล็กซ์ ซึ่งแวคิวโอลเหล่านี้ยังมีขนาดเล็ก ต่อมามีการสะสมนํ้าหรือสารมากขึ้น รวมทั้งมีการรวมกันของแวคิวโอลที่อยู่ใกล้กันจึงทําให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
เอนโดพลาสมิก เรติคูลัม
โครงสร้าง
ถุงแบน (cisternae) รูปร่างแบบนี้จะพบในเซลล์ที่มีความสามารถในการ
สังเคราะห์โปรตีนได้ดี เพื่อเป็นแหล่งเก็บสะสมสารที่สังเคราะห์ขึ้นมา
-
-
ชนิด
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดเรียบ (smooth ER,SER) ผิวด้านนอกของเยื่อหุ้มไม่มีไรโบโซมมาเกาะ จึงมีลักษณะเรียบ
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดขรุขระ (rough ER,RER) ผิวด้านนอกของเยื่อหุ้มมีไรโบโซมเกาะอยู่ จึงมองเห็นเยื่อหุ้มมีลักษณะขรุขระ
-
-
ไซโตสเกเลตอน
ไมโครทูบูล
โครงสร้าง
เป็นท่อขนาดยาว โดยภายในท่อจะกลวง ผนังของไมโครทูบูลประกอบด้วยโปรตีนที่เรียกว่า ทูบูลินชนิด α และ β โดย α tubulin และ β tubulin จะจับกันเป็นไดเมอร์ แต่ละไดเมอร์จะมาเรียงต่อกันเกิดเป็นเส้นตรง เรียกว่า โปรโตฟิลาเมนต์ โปรโตฟิลาเมนต์จํานวน 13 เส้น จะเรียงตัวเป็นวงกลมเกิดเป็นผนังของไมโครทูบูล ส่วนปลายของไมโครทูบูลที่มีการเจริญยืดยาวออกไป เรียกว่า ปลายบวก ซึ่งจะมีการรวมตัวกันของทูบูลินเกิดขึ้น ส่วนปลายที่อยู่ด้านตรงข้าม คือ ปลายลบ เป็นปลายที่มีการสลายของไมโครทูบูล ไมโครทูบูลของเซลล์แต่ละชนิดจะมีทูบูลินที่แตกต่างกันไปทั้งชนิดและลําดับของกรดอะมิโนตลอดจนนํ้าหนักโมเลกุลของทูบูลินเอง
-
-
-
-
ไมโครบอดี
เพอรอกซิโซม
หน้าที่
การกําจัดสารพิษ เนื่องจากมีเอนไซม์พวกออกซิเดสหลายชนิด : Urate oxidase,Amino acid oxidase เอนไซม์เหล่านี้จะกระตุ้นปฏิกิริยาแล้วได้ผลผลิต คือ ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ สารนี้เป็นพิษกับเซลล์และจะถูกเอนไซม์คะตะเลสที่มีอยู่ในเพอรอกซิโซม เปลี่ยนให้เป็นนํ้าและแก๊สออกซิเจน
เกี่ยวข้องกับเมตาบอลิซึมของพิวรีน พิวรีนเป็นเบสในกรดนิวคลีอิคเมื่อถูกย่อยจะกลายเป็นกรดยูริก หลังจากนั้นจะมีเอนไซม์ Urate oxidase มากระตุ้นปฏิกิริยาแล้วเปลี่ยนกรดยูริกให้กลายเป็นแอลแลนโทอิน คาร์บอนไดออกไซด์ และไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์
เกี่ยวข้องกับเมตาบอลิซึมของไขมัน มีเอนไซม์หลายชนิด : เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ฟอสโฟลิปิด อีเทอร์
เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ β-ออกซิเดชันของกรดไขมัน แสดงว่าเพอรอกซิ
โซมเกี่ยวข้องทั้งกระบวนการย่อยและสังเคราะห์พวกกรดไขมัน
เกี่ยวข้องกับเมตาบอลิซึมของไนโตรเจน เนื่องจากมีเอนไซม์อะมิโนทรานสเฟอเรสเป็นเอนไซม์ที่กระตุ้นการส่งหมู่อะมิโน
จากกรดอะมิโนไปยัง α-keto acid มีผลทําให้กรดอะมิโนเปลี่ยนเป็น
α-keto acid และ α-keto acid จะเปลี่ยนเป็นกรดอะมิโน คือ เอนไซม์นี้มีความสําคัญในการสลายและสังเคราะห์กรดอะมิโน
เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคน กลุ่มอาการเซลวีเจอร์ มีความผิดปกติของอวัยวะภายในหรือสมอง มีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงรวมถึงตับและไตวายเฉียบพลัน เกิดจากการที่เซลล์ไม่สร้างเพอรอกซิโซม
จุดกำเนิด
เกิดจากเอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ที่มีการพองตัวและมีการเว้าจนกระทั่งหลุดออกจากกัน
เอนไซม์ในเพอรอกซิโซมของเซลล์ตับรวมทั้งเนื้อเยื่อต่างๆ ถูกสังเคราะห์จากไรโบโซมอิสระในไซโตพลาสซึมและเอนไซม์เหล่านั้นถูกปล่อยออกสู่ไซโตพลาสซึมหลังจากนั้นจึงถูกส่งไปยังเพอรอกซิโซม
การเพิ่มจํานวนของเพอรอกซิโซม อาจเกิดจากเพอรอกซิโซมเดิมแบ่งตัวเป็นสองหรืออาจเกิดจากการแตกหน่อของเพอรอกซิโซม
ไกลออกซิโซม
หน้าที่
เกี่ยวข้องกับเมตาบอลิซึมของไขมัน จากการศึกษาในเมล็ดละหุ่ง ขณะกําลังงอกนั้น ไขมันจะถูกเปลี่ยนแปลงเป็นคาร์โบไฮเดรต เพื่อใช้ในการสร้างพลังงานและการสังเคราะห์โครงสร้างต่างๆ จนกว่าต้นอ่อนจะสามารถสังเคราะห์แสงได
จุดกำเนิด
คล้ายกับเพอรอกซิโซม เกิดจากไกลออกซิโซมอันเก่าที่มีการแบ่งตัวหรือแตกหน่อ เอนไซม์ส่วนใหญ่สังเคราะห์จากไรโบโซมอิสระที่ไซโตพลาสซึม และถูกส่งไปยังไกลออกซิโซมโดยผ่านทางเยื่อหุ้ม ซึ่งมีสัญญาณจําเพาะที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเพอรอกซิโซม
ไมโตคอนเดรีย
ส่วนประกอบต่างๆ
ช่อง intermembrane space พบเอนไซม์หลายชนิด : อะดีนิลเลต ไคเนส
กระตุ้นปฎิกิริยาการขนส่งหมู่ฟอสเฟตจาก ATP ไปยัง AMP ทําให้ได้ ADP 2 โมเลกุล
เยื่อหุ้มชั้นใน เป็นเยื่อที่ขนานกับ outer membrane และยื่นเข้าไปด้าน
ในของ mitochondria จํานวนมาก เรียก คริสตี
เมทริกซ์ มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการออกซิเดชันไพรูเวต วัฎจักรเครบส์
มี DNA RNA ไรโบโซม รวมทั้ง RNA ถ่ายโอน
มีเอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ DNA RNA โปรตีน
เยื่อหุ้มชั้นนอก เรียบ ประกอบด้วยโปรตีนพอรินส์ เป็นช่องสําหรับให้โมเลกุลขนาดเล็กผ่านได้ : ไอออน กรดอะมิโน
กระบวนการต่างๆ
การออกซิเดชันไพรูเวต กรดไพรูวิกจากกระบวนการไกลโคลิซิส จํานวน 2 โมเลกุล จะเข้าสู่เยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรียและทําปฏิกิริยากับโคเอนไซม์เอ ได้เป็นแอซิทิลโคเอนไซม์เอ 2 โมเลกุล NADH 2 โมเลกุล และคาร์บอนไดออกไซด์ 2 โมเลกุล
วัฎจักรกรดซิตริก เป็นกระบวนการสลายแอซิทิลโคเอนไซม์เอ ที่ได้จากสารอาหารต่างๆ เพื่อให้ได้พลังงานในรูป ATP จํานวนมาก
กระบวนการถ่ายทอดอิเลคตรอน เกิดขึ้นในเยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอน
เดรียหรือคริสตี โดย NADH และ FADH2 เป็นตัวให้อิเลคตรอนแก่สารอื่น
-
พลาสติด
ชนิด
-
โครโมพลาสต์ สีส้ม แดง เหลือง รงควัตถุที่สําคัญเป็นพวกแคโรทีนอยด์ พบมากในผลสุก : มะละกอ พริก มะเขือเทศ ไฟโคบิลินรงควัตถุพวกไฟโคอีรีธริน สีแดง ไฟโคไซยานิน สีนํ้าเงิน พบเฉพาะในสาหร่ายบางชนิด
-