Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pattsorn 1, นางสาวภัสสร วิชัยดิษฐ รหัส 2669001428 - Coggle Diagram
Pattsorn 1
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ลักษณะของการเปลี่ยนแปลง
ระดับของการเปลี่ยนแปลง
ช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลง
ทิศทางการเปลี่ยนแปลง
ขนาดของกาารเปลี่ยนแปลง
อัตราของการเปลี่ยนแปลง
ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
กระบวนการ
ความก้าวหน้า
การวิวัฒนาการ
การพัฒนา
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สิ่งเร้าทางสังคม
สิ่งเร้าทางจิตวิทยา
สิ่งเร้าทางวัฒนธรรม
สิ่งเร้าทางเศรษฐกิจ
ทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบเส้นตรง
ออกัส คองส์
แบ่งความเจริญเป็น 3 ระยะ
นับถือภูติผี สิ่งศักสิทธิ์ ระยะวิทยาศาสตร์
เลวิส มอร์แกน
สังคมนรปศุธรรม อนารยธรรม และอารยะธรรม
เลวิส มัมฟอร์ด
ยุคเทคนิคสมัยเริ่มแรก ยุคเทคนิคเก่า ยุคเทคนิคใหม่ ยุคเทคนิคชีวภาพ
วอลท์ รอสโตวส์
ระยะสังคมดั้งเดิม ระยะเตรียมก่อนการพัฒนา ระยะเริ่มพัฒนา ระยะเข้าสู่การพัฒนา ระยะการบริโภค
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบวัฏจักร
ปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การวิวัฒนาการและการปฏิวัติ
การปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
การพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม
การพัฒนาเป็นเมือง
การพัฒนาให้เป็นสมัยใหม่
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคม
ปัจจัยด้านประชากร
ความสำคัญของประชากร
อิทธิพลของประชากรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ลักษณะบุคคลิกภาพของบุคคล
ขนาดของประชากร
โครงสร้างของประชากร
การขยายตัวของประชากร
การย้ายถิ่น
การขัดเกลาทางสังคม
การเกิด
การตาย
ปัจจัยด้านวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
อิทธิพลของวัฒนธรมมที่มีผลต่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ระบบความคิด
การประดิษฐ์คิดค้น
การปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
เทคโนโลยี
ปัจจัยด้านการเมืองการปกครอง
แนวคิดการเมืองการปกครอง
บทบาททางการเมือง
อิทธิพลของการเมืองที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
เเนวคิดด้านเศรษฐกิจกับการเปลี่ยแปลงทางสังคม
เศรษฐกิจส่วนบุคคล
เศรษฐกิจของชนชั้น
เศรษฐกิจของสังคมส่วนรวม
อิทธิพลของเศรษฐกิจที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ปัจเจกบุคคลและครอบครัว
กลุ่มของสังคม
องค์การ
ระบบการผลิต
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การกำหนดนโยบาย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย สังคมโลก ที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงด้านจำนวนและประเภทของประชากร
การเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพของประชากร
การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติ
จากการนำมาใช้ประโยชน์
การเปลี่ยนแปลงด้วยเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงด้านการจัดการบริหารปกครอง
วิวัฒนาการของกรบริหารปกครองแบบประชาธิปไตย
ลักษณะสำคัญของการจัดการบริหารปกครองในปัจจุบันและอนาคต
การให้สิทธิเสรีภาพกว้างขวางแก่ประชาชน
การเพิ่มอำนาจการปกครองด้วยการมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชน
การลดอำนาจรัฐจากส่วนกลางเเละเพิ่มอำนาจท้องถิ่น
การเรียกร้องความโปร่งใสในการปฏิบัติงานของราชการ
การควบคุมและถ่วงดุลอำนาจของรัฐด้วยองค์กรอิสระ
การตรวจสอบและติดตามอำนาจบริหารปกครองด้วยเอกชน
การเปลี่ยนแปลงด้านระบบความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงระบบความสัมพันธ์ทางสังคม
ความสัมพันะ์ระหว่างชนบทกับเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างชาติพันธ์ใหญ่กับกลุ่มชาติพันธุ์ย่อย
การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมประเพณีกับวัฒนธรรมสมัยใหม่
วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลก
แนวทางการศึกษาสภาพสังคมโลกหลัง ค.ศ.2000
อุดมคตินิยม
สัจนิยม
ทฤษฎีระบบ
เศรษฐศาสตร์การเมือง
สภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกกับการเกษตรกรรม
การกำหนดมาตรฐาน
ความชำนาญเฉพาะด้าน
การสร้างความประสานสอดคล้อง
การรวมจุดเน้น
การสร้างคณค่าและประโยชน์สูงสุด
องค์การและความร่วมมือในสังคมโลก
องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับโลก
องค์การที่มีรัฐเป็นสมาชิก
องค์การสหประชาชาติ
ธนาคารโลก
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
องค์การการค้าโลก
นอกเหนือจากรัฐ
สภาหอการค้าระหว่างประเทศ
องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับภูมิภาค
กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค
สหภาพยุโรป
เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
เอเปก
เขตการค้าเสรีอาเซียน หรือ อาฟต้า
รัฐ
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านการเกษตรกรรม
องค์การและกลุ่มความร่วมมืออื่นในระดับภูมิภาค
องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับภายในรัฐ
บุคคล
กลุ่มบุคคล
องค์การพัฒนาเอกชน
บรรษัทข้ามชาติ
การเปลี่ยนแปลงสังคมโลกหลัง ค.ศ. 2000
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทางการเมืองและความมั่นคง
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทางด้านเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทางด้านสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ความสำคัญ
ยกระดับมาตรฐานการครองชีพ
เป็นหนทางที่ประเทศพึ่งพาตนเองได้
เกิดความช่วยเหลือกันของประเทศต่างๆ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลียนแปลง
ปัจจัยทางการเมืองระดับประเทศ
ปัจจัยการเมืองระดับท้องถิ่น
ปัจจัยทางสังคม
ก่อนยุคฟองสบู่แตก
กลังยุคฟองสบู่แตก
ยุคปัจจุบัน
ปัจจัยทางธุรกิจและการค้า
ความได้เปรียบอันมีผลมาจากเทคโนโลยีใหม่
ความได้เปรียบอันมีผลมาจากตลาด
ความได้เปรียบอันมีผลมาจากกระบวนการ
ปัจจัยทางเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย และเศรษฐกิจโลก ที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทย
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สมัยสุโขทัย
สมัยอยุธยา
สมัยธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนที่จะมีแผนฯ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยภายหลังมีแผนฯ
การพัฒนาการเกษตรในแผนฯ 1- 7
เน้นลดต้นทุนการผลิต
การพัฒนาการเกษตรในแผนฯ 8-12
เน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจกับผลกระทบต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจต่อโครงสร้างการเกษตร
ประชากรภาคเกษตรลดลง
เนื้อที่ถือครองลดลงต่อครัวเรือน
ประเภทการผลิตเริ่มเปลี่ยนไป
ประชาชนเริ่มเห็นความสำคัญของการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลต่อรูปแบบการผลิตทางการเกษตร
การผลิตเพื่อยังชีพ
การผลิตเพื่อขายภายในประเทศ
การผลิตเพื่อการธุรกิจและเพื่อการส่งออก
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลต่อรูปแบบการส่งเสริมการเกษตร
ระยะก่อนมีกรมส่งเสริมการเกษตร
กระจายอยู่ในกรมต่างๆ
ระยะที่มีกรมส่งเสริมการเกษตร
รวมงานส่งเสริมมาอยู่ในกรมส่งเสริมการเกษตร
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเศรฐกิจและการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย
การลดต้นทุนการผลิต
การพัฒนาคุณภาพของสินค้า
การวิจัยพัฒนาให้ได้พันธุ์ใหม่
การเพิ่มมูลค่าของสินค้าเกษตร
การปรับตัวเพื่อเเข่งขันกับคู่แข่งโดยเน้นคุณภาพสินค้า
จัดความสมดุลระหว่างพืชอาหารและพืชพลังงาน
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในอนาคต
กลไกการเมืองต้องเอื้ออำนวย
เกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
ต้องนำระบบสารสนเทศมาช่วยในการพัฒนาระบบงานส่งเสริม
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของโลก
การแข่งขันที่รุนแรงจากเศรษฐกิจเกิดใหม่
การแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจเกิดใหม่
การสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจเก่าและมหาอำนาจใหม่
การบริหารความเสี่ยงจากความซับซ้อนของเศรษฐกิจโลก
การกีดกันทางการค้าและการให้ความช่วยเหลือโดยรัฐ
การรักษาความมั่นคงและยั่งยืนของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
นางสาวภัสสร วิชัยดิษฐ รหัส 2669001428