Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตราฐานการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล - Coggle Diagram
มาตราฐานการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
บทที่ 1
พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจให้อปท.2542
ม.16
ให้เทศบาล เมืองพัทยา อบต.มีอำนาจหน้าที่ กำจัดมูลฝอย สื่งปฏิกูลและนำ้เสีย
ม.17
ให้อบจ.มีหน้าที่กำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลรวมและมลพิษ
พรบ.เทศบาล 2496
ม.50 หน้าที่เทศบาลตำบล
รักษาความสะอาดถนน ทางเดิน กำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
คำนิยาม
มลพิษ
ของเสีย วัตถุอันตราย กากตะกอนที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่งมลพิษ
ของเสีย
ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล นำ้เสีย อากาศเสีย
ขยะมูลฝอย
สิ่งเหลือใช้และสิ่งปฏิกูลในรูปของแข็งเกิดจากกิจกรรมของคน
สิ่งปฏิกูล
ของสรกปรก เน่าเปื่อย อุจจาระและปัสสาวะ
บท2 การบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
เป้าหมาย
1.ลดหรือควบคุมการผลิตขยะมูลฝอย ไม่เกิน 1.0 กิโลกรัม/คน/วัน
2.ให้ใช้ประโยชน์จากขยะในกทม.และชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 15
3.ให้มีขยะตกค้างไม่เกินร้อยละ 10
4.ให้ทุกจังหวัดมีแผนหลักในการจัดการขยะ และระบบกำจัดขยะ
นโยบาย 4 ประการ
1.ให้มีการเก็บกัก เก็บขน ขนส่ง และกำจัด
2.ควบคุมการผลิตขยะ
3.ส่งเสริมให้เอกชนร่วมลงทุน ก่อสร้าง ลงทุนระบบกำจัดขยะ
4.ส่งเสริมให้เอกชนและปชชมีส่วนร่วมแก้ไขขยะ
บท 3 เทคนิคการจัดการขยะและสิ่งปฏิกูล
แหล่งกำเนิดขยะมูลฝอย
1.ชุมชน อาคาร บ้านเรือน วัสดุที่ใช้หีบห่อ
2.ที่สาธารณะ ถนน ตลาด
3.จากโรงงาน และแหล่งพาณิชย์
ประเภทขยะ
1.ขยะทั่วไป
2.ขยะอินทรีย์
3.ขยะอุตสาหกรรม
4.ขยะติดเชื้อและอันตราย
การลดอัตราขยะ
ลดการผลิตขยะ Reduce
-ใช้สินค้าชนิดเติม
-ใช้ภาชนะแทนบรรจุภัณฑ์ เช่น ปิ่นโตแทนกล่องโฟม
การใช้ซำ้ Reuse
-ใช้กระดาษ 2 หน้า
Recycle
นำไปแปรรูปโดยผ่านกระบวนการต่างๆ
บท 4 การมีส่วนร่วมของปชช.ในการกำจัดขยะ
ความสำคัญของการมีส่วนร่วม
ช่วยเพิ่มคุรค่าในนการตัดสินใจแก้ปัญหา
ช่วยลดเวลาและค่าใช้จ่ายของ อปท.
ช่วยสร้างฉันทามติร่วมกันของสมาชิกในชุมชน
ช่วยเพิ่มความง่ายของแนวทางการแก้ปัญหา
หลีกเลี่ยงการเผซิญหน้าคู่กรณี
ดำรงไว้ซึ่งความน่าเชื่อถือของผู้นำชุมชน
พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของสมาชิกในชุมชน
แนวทางปฏิบัติในการลดและแยกขยะจากครัวเรือน
ส่งเสริมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ส่งเสริมให้ใช้ถุงขยะแบบแยกสี
มีการจัดเก็บถุงบรรจุขยะ