Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนากระบวนการคิดรูปแบบต่าง ๆ, นางสาวภาภัทร์ศิริ อินทรปฐม 6311436024 -…
การพัฒนากระบวนการคิดรูปแบบต่าง ๆ
กระบวนการคิด
การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method Thinking) เป็นกระบวนการการคิดที่ใช้ในการคิดแก้ปัญหาหรือแสวงหาความรู้มีกระบวนการหรือขั้นตอนตามลำดับคือขั้นปัญหา ขั้นตั้งสมมติฐาน ขั้นรวบรวมข้อมูล และขั้นสรุป ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการต้องใช้ความคิดเป็นทักษะการคิด
การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นกระบวนการการคิดที่ให้ผลของการคิดที่เป็นสิ่งแปลกใหม่ที่มีคุณค่า มีประโยชน์ เช่น สิ่งประดิษฐ์แบบใหม่
การคิดเลียนแบบอริยสัจ 4 (Noble Truth Thinking) เป็นการคิดที่เลียนแบบกระบวนการคิดของอริยสัจ 4 ของพุทธศาสนาในอริยสัจ 4 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นเนื้อหา ซึ่งเป็นเรื่องที่เป็นความจริงที่เกี่ยวข้องกบชีวิตของทุกคนกับส่วนที่เป็ นวิธีการแห่งปัญญา ซึ่งเป็นระบบที่แกไขปัญหาด้วยเหตุผล
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เป็ นกระบวนการคิดที่มีการพิจารณาไตร่ตรอง และการใช้เหตุผล เพื่อประกอบในการตัดสินใจหรือในการเลือก เช่น เลือกกระทำหรือไม่กระทำ ความเชื่อหรือไม่เชื่อ
การพัฒนากระบวนการคิด
ตอนที่ 2 กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การตั้งเป้าหมายในการคิดและประเด็นในการคิด
การพิจารณากลันกรองการไตร่ตรอง
การประเมิน
ปัญหา
ผลการคิดที่รอบคอบสมเหตุสมผลและมีคุณค่า
ปัจจัยเสริมและอุปสรรคที่มีต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ปัจจัยเสริม
ข้อมูลที่ใช้ในการคิดที่สมบูรณ์ ครอบคลุมทุกด้านทั้งข้อมูลทางวิชาการ
ข้อมูลทางสังคม ข้อมูลทางสิ่งแวดล้อม
การระดมสมองและการร่วมคิดจากบุคคลที่เหมาะสมในจ านวนที่เหมาะสมจะได้ผลของการคิดอยางมีวิจารณญาณ
ผู้คิดหรือผู้ร่วมคิดต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถกว้างขวาง หลากหลายสาขาวิชาการและประสบการณ์
ต้องสนใจข่าวสาร ขวนขวายหาความรู้อยูตลอดเวลา ทันโลกทันเหตุการณ์
การมีความสามารถในทักษะการคิดและลักษณะการคิดที่เกี่ยวข้อง เช่นการคิดวิเคราะห์และผสมผสาน
อุปสรรค
การมีข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ ขาดความรู้ทางวิชาการที่เพียงพอ ขาดความ
คิดเห็นที่เหมาะสม
มีทัศนะที่คับแคบ มีอคติ ไม่ค่อยยอมรับทัศนะที่ต่างไปจากตน
การเป็นคนมักง่ายไม่ชอบคิด เร่งทำก่อน มีปัญหาเอาไว้แกภายหลัง
การพัฒนากระบวนการคิด
ตอนที่ 3 กระบวนการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นตั้งสมมุติฐาน เป็นการคาดคะเนคาตอบของคำถามล่วงหน้า แต่เป็นการคาดคะเนอยางมีเหตุผล
ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนที่คิดเกี่ยวกบัวิธีการวางแผนในการหาข้อมูลมาเพื่อสรุปว่าสมมุติฐานที่ตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่ รวมทั้งการหาข้อมูลตามแผนที่คิดไว้
ขั้นปัญหา เป็นการกำหนดปัญหาหรือระบุปัญหาให้ชัดเจน
ขั้นสรุป เมื่อทำการรวบรวมข้อมูลได้แล้ว ก็นำข้อมูลมาสรุปเพื่อตรวจสอบว่าสมมุติฐานที่ตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่ ซึ่งการสรุปนี้จะเป็นคำตอบของปัญหาที่ตั้งไว้ในขั้นที่ 1
ปัจจัยเสริมและอุปสรรคที่มีต่อการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ปัจจัยเสริม
ในกรณีที่การแกปัญหาเป็ นการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ควรต้องมีความสามารถในด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์บางทักษะเพิ่มเติม ได้แก่ การสังเกต
ลักษณะนิสัยที่ส่งเสริมการคิด ได้แก่ การเป็นคนมีความพยายามและความอดทน และการทำงานอยางมีระบบ มีขัันมีตอน
การมีความสามารถในทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่เกี่ยวข้อง เช่น การคิดวิเคราะห์ผสมผสาน
อุปสรรค
ความเชื่อที่ผิด ที่คิดว่าวิธี คิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใช้คิดแก้ปัญหาเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์เท่านั้น
มีความเชื่อที่ผิดที่คิดว่า วิธีคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใช้คิด
แก้ปัญหาเฉพาะยาก ๆ ปัญหาที่ต้องทำการวิจัยเท่านั้น
การพัฒนากระบวนการคิด
ตอนที 1 กระบวนการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ขั้นตอนการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของ เดวิด เพอร์กินส์( David Perkins )
จุดประสงค์ของการออกแบบ คือเป็กมีไว้เพื่อกดวัสดุที่เป็นแผนบาง ๆ เช่น กระดาษให้ติดอยูกับแผนป้ายหรือกำแพง
โครงสร้าง ประกอบด้วยส่วนหัวซึ่งมีลักษณะกลมกว้าง และส่วนก้นจะมีความยาวเท่าเข็มขนาดสั้น และมีปลายแหลม
รูปแบบจำลอง ถ้าจะวาดแบบจำลองของเป็กทั้งรูปแนวตั้งและแนวนอน
เหตุผลและข้อโต้แย้ง
พัฒนาปรับปรุงอย่างสร้างสรรค์
ขั้นตอนการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของอเล็กซานเดอร์ ออสบอร์น (Alexander Osborn )
เพิ่ม/ ขยายชิ้นส่่วนสิ่งที่มีอยู่ได้หรือไม่ ( Magnify?) : ลองพิจารณาว่าถ้าเพิ่มวัสดุอะไรเข้าไปจึงจะเหมาะสมและจะเกิดผลอย่างไร เช่น เพิ่มลวดลาย
ลด/ ตัดทอนสิ่งที่มีอยู่ได้หรือไม่ ( ู Minify?) : ลองพิจารณาว่าถ้าตัดอะไรออกไปจึงจะเหมาะสมและจะเกิดผลอย่างไร เช่น ย่อส่วนลง
ปรับเปลี่ยนได้หรือไม่ (Modify?) ลองพิจารณาว่ามีส่วนใดที่ยังไม่เหมาะสม และถ้าเปลี่ยนอย่างอื่นจะเกิดผลอยางไรดีขึ้นไหม
จะใช้อะไรทดแทนได้หรือไม่ (Substitute?) : ลองทดแทนสิ่งเดิมด้วยสิ่งอื่น ๆ แล้วพิจารณาว่าได้อะไรใหม่ ๆ ขึ้นมาบ้าง
นำไปปรับหรือดัดแปลงใช้อย่างอื่นได้หรือไม่ (Adapt?) : ลองพิจารณาว่ามีส่วนไหนที่ดัดแปลงใช้ทำอยางอื่นได้ หรือสามารถนำไปเลียนแบบอะไรหรือเลียนแบบใครได้บ้าง
นำไปจัดใหม่ได้หรือไม่ (Rearrange?) : ลองพิจารณาวามีชิ้นส่วนใดที่เปลี่ยนถ่ายกนได้ลองจัดรูปแบบใหม่หรือจัดลำดับความสำคัญใหม่
นำไปสลับใหม่ได้หรือไม่ (Reverse?) : ลองคิดมุมกลับในทางตรงข้าม ลองเปลี่ยนหน้าที่หรือสลับบทบาท
นำไปผสม/ รวมสิ่งที่มีอย่ได้หรือไม่ ( ู Combine?) : ลองผสมผสานความคิดต่างๆเข้าด้วยกนเพื่อให้เกิดไอเดียใหม่ ๆ เช่น นำวัสดุอื่นมาผสมผสาน นำแนวคิดอื่นมารวมกัน
นำไปใช้ทางอื่นได้อีกไหม (Put to other uses) : ลองพิจารณาวามีส่วนไหนใช้ทำประโยชน์ได้อีกหรือถ้าปรับเปลี่ยนสักเล็กน้อยแล้วจะสามารถนำไปใช้อยางอื่นได้
ขั้นตอนการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของโรเจอร์ วอน โอช
(Roger von Oech)โดยเทียบเคียงกบบทบาทของบุคคลต่าง ๆ ดังนี้
ศิลปิน
มีบทบาทในการสร้างความคิดใหม่หรือจินตนาการ
ผู้พิพากษา
มีบทบาทของผ้ประเมิน ู สิ่งที่ศิลปินสร้างขึ้น
นักรบ
มีบทบาทนำเอาความคิดที่ผ้พิพากษาได้ประเมินว่าควรค่าหรือเหมาะสมไปสู่การปฏิบัติ
นักสำรวจ
แสวงหาวัตถุดิบซึ่งจะน ามาสร้างความคิดใหม่
ปัจจัยเสริมและอุปสรรคที่มีผลต่อความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ปัจจัยเสริม
การมีความสามารถในทักษะการคิดและลักษณะการคิดที่เกี่ยวข้อง เช่น การคิดคล่องคิดหลากหลาย การคิดริเริ่ม
การมีลักษณะนิสัยประจำตัวที่ต้องการสิ่งที่ดีขึ้น ต้องการสิ่งใหม่ ๆ ที่ดีขึ้นกว่าเดิม ไม่ติดยึด
การให้เวลาในการคิด เพราะการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทำให้เกิดความคิดใหม่ ซึ่งมักจะเป็นการ “แว้บ!”
อุปสรรค
ชอบคิดวาของใหม่สิ่งใหม่ ไม่ถูกหลักเกณฑ์ที่มีอยู่
การเน้นเรื่องการปฏิบัติมาก ทำให้ความคิดริ เริ่มสร้างสรรค์ไม่ถูกนำมาใช้
ความพอใจกบสิ่งที่มีอยู่หรือคิดว่าสิ่งที่มีอยู่ดีที่สุดแล้วเช่นคิดว่าคำตอบที่มีอยู่ถูกต้องที่สุดแล้ว
การวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ของการไม่ยอมรับในแง่ของการหักร้างไม่สนับสนุน ไม่เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้มีความคิดใหม่ ๆ
การพัฒนากระบวนการคิด
ตอนที่ 4 กระบวนการคิดแบบอริยสัจ 4
อริยสัจ 4 เป็นหลักธรรมที่สำคัญที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ จำแนกการพิจารณาได้เป็น 2 ส่วนคือ
อริยสัจ 4 ในส่วนที่เป็นเนื้อหาซึ่งเป็นเรื่องความจริงที่เกี่ยวข้องกบชีวิตของคนทุกคนสรุปเป็นแผนภูมิเชิงเหตุ - ผล 2 คู่ได้ดังนี้
ทุกข์ ภาวะที่แฝงด้วยความกดดัน บีบคั้นขัดแย้ง ขัดข้อง มีความบกพร่องไม่สมบูรณ์อยูในตัว
มรรค วิธีปฏิบัติเพื่อลดสมุทัยหรือวิธีปฏิบัติเพื่อให้เกิดนิโรธ มีมรรค 8 หรือศีล สมาธิ ปัญญา
สมุทัย (เหตุแห่งทุกข์)ตัณหา มี 3 ด้าน คือกามตัณหา ภวตัณหาวิภวตัณหา
นิโรธ สภาวะทุกข์น้อยลงหรือหมดไป เป็นสภาวะสงบ ปลอดโปร่ง ผองใสเบิกบาน
อริยสัจ 4 ในส่วนที่เป็นกระบวนการคิด
สาเหตุของปัญหา
วิธีปฏิบัติหรือแนวปฏิบัติเพื่อลดและกาจัดสาเหตุของปัญหาหรือเพื่อบรรลุจุดประสงค์
ปัญหา
จุดประสงค์ (ปัญหาลดลงหรือหมดไป)
ปัจจัยเสริมและอุปสรรคที่มีต่อการคิดเลียนแบบอริยสัจ 4
ปัจจัยเสริม
3 การมีความสามารถในการจับประเด็นปัญหา และกาหนดนิยามปัญหา
4 การมีความรู้กว้างขวาง หลากหลายสาขาวิชา เพื่อการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาได้อยางครอบคลุม ถูกต้อง
2 การมีความสามารถในกระบวนการคิดที่เกี่ยวข้อง เช่น การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5 ในการวิเคราะห์สาเหตุบางกรณี อาจลึกซึ้งเกินกวาการใช้การวิเคราะห์
การมีความสามารถในทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่เกี่ยวข้อง เช่น การคิดวิเคราะห์ผสมผสาน
การหาวิธีเพื่อลดหรือขจัดสาเหตุของปัญหา ในบางสาเหตุของปัญหาอาจต้องใช้การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
อุปสรรค
สาเหตุที่คิดวาเป็นสาเหตุของปัญหานั้น เป็นสาเหตุจริง ๆ หรือไม่ เป็นสาเหตุหลักหรือสาเหตุรอง และเป็นสาเหตุโดยตรง
วิธีการที่คิดไว้สำหรับลดสาเหตุปัญหา หรือขจัดสาเหตุของปัญหานั้นมีประสิทธิภาพจริงหรือไม่หรือมีวิธีการอื่นที่ดีกว่า
ประเด็นปัญหาที่คิดได้ที่นิยามไว้นั้น เป็ นปัญหาจริงที่ถูกต้องหรือไม่
นางสาวภาภัทร์ศิริ อินทรปฐม 6311436024