Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตามวิธีการทำงาน, ภัสสร 7 - Coggle Diagram
ตามวิธีการทำงาน
รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบการฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน
การฝึกอบรม ประกอบด้วยหลักสูตรต่างๆ โดยนักวิชาการเกษตรซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญเป็นวิทยากรในการอบรม
การเยี่ยมเยียน ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เข้าไปเยี่ยมเยียนและนัดหมายวันอบรม รวมถึงตรวจสอบและประเมินผล
ลักษณะสำคัญ
ความเป็นมืออาชีพ
ทำงานภายใต้การบังคับบัญชาแบบเบ็ดเสร็จ
เนื้อหาอบรมเฉพาะด้าน
เวลาทำงานที่แน่นอน
ความสม่ำเสมอในการเยี่ยมเยียน
การเชื่อมโยงระหว่างการส่งเสริมและการวิจัย
เชื่อถือได้
ตัวอย่าง
การฝึกอบรม
เนื้อหา
ด้านสมรรถนะ
ด้านวิชาการ
ด้านแผนงานโครงการ
วิธีการ
เวทีเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ NW RW TW PW DW
การฝึกอบรม
การเยี่ยมเยียน
จันทร์ ประชุมเจ้าหน้าที่
อังคารงานเน้นหนัก
พุธ งานปกติ งานยุทธศาสตร์จังหวัด
พฤหัสบดี งานนโยบายกระทรวง
ศุกร์ สรุปผลปฏิบัติงาน
ข้อควรพิจารณา
การสั่งการจากบนลงล่าง
การสั่งงานแบบแยกส่วน
ความไม่ยืดหยุ่น
เน้นการเยี่ยมเยียน
ขาดความยั่งยืน
ภาระงาน
ระบบสนับสนุน
รูปแบบและเเนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบโครงการ
การดำเนินงานที่เป็นลักษณะโครงการ มีการใช้ทรัพยากรตามที่วางแผนไว้ และสามารถวัดผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรมได้ ทั้งในเชิงผลผลิตและการเปลี่ยนแปลงของเกษตรกรในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในโครงการ
ลักษณะสำคัญ
โครงการแบบระบบลูกโซ่
โครงการแบบเครือข่าย
โครงการแบบระบบวงจร
มีการกำหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน
มีการกำหนดระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดชัดเจน
มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่การดำเนินงานอย่างชัดเจน
มีขอบเขตของการบริหารและความรับผิดชอบที่เป็นเอกเทศ
มีรูปแบบการดำเนินงานที่สอดคล้องกลมกลืนกัน
มีการทำสัญญากับผู้ที่เกี่ยวข้อง
แนวทาง
ขั้นตอน 1 การวินิฉัยปัญหา
ขั้นตอน 2 การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ขั้นตอน 3 การทำแผนปฏิบัติงาน
ขั้นตอน 4 การดำเนินการตามแผน
ขั้นตอน 5 การติดตามและประเมินผล
ข้อควรพิจารณา
มุ่งผลลัพธ์ที่เกิดแก่กลุ่มเป้าหมายหลัก
การพึ่งพาซึ่งกันและกัน
ความเป็นเอกภาพ
ความขัดแย้ง
ความยั่งยืนของโครงการ
การเชื่อมโยงกับภาระกิจประจำ
รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบการบริการเบ็ดเสร็จ
ลักษณะสำคัญ
การมีจุดให้บริการที่สะดวก
การมีเกษตรกรต้นแบบ
การมีหลักสูตรการเรียนรู้ที่ชัดเจน
การเน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
การบริหารงานร่วมกัน
แผนการพัฒนาที่เกิดจากชุมชน
แนวทาง
การเพิ่มจุดบริการให้บริการในพื้นที่
การสร้างเครือข่ายเกษตรกรต้นแบบ
การสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรในระดับพื้นที่
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรในระดับพื้นที่
การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดองค์ความรู้
การรวมกลุ่มและการพัฒนากลุ่ม
การบริการข้อมูลและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ข้อควรพิจารณา
ความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
งบประมาณที่มีจำกัด
กฎ ระเบียบ ต่างๆ
บทบาทหน้าที่ของนักส่งเสริม
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบการมีส่วนร่วม
ลักษณะสำคัญ
เป็นการกระจายอำนาจในกาตัดสินใจ
การมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องในกิจกรรม
ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกัน
การพัฒนาขีดความสามารถของตนเอง
การร่วมจัดสรรผลประโยชน์
แนวทาง
เกษตรกร เป็นบุคคลสำคัญ เพราะ ได้รับประโยชน์โยตรง โดยร่วมกันออกความคิดเห็นถึงปัญหาของชุมชน
นักส่งเสริม เป็น ผู้จัดกระบวนการ ให้เกษตรกรในการแก้ไขปัญหาของชุมชน
ภาคีเครือข่าย เป็นหน่วยงานที่เข้ามาร่วมให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเฉพาะด้านตามที่หน่วยงานนั้นๆ
ข้อควรพิจารณา
การขาดความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
การได้มาซึ่งปัญหาที่ชัดเจน
ความไม่มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร
การเตรียมความพร้อมให้กับชุมชน
การสร้างโอกาส
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบผสมผสาน
ลักษณะสำคัญ
การผสมผสานความรู้หลายสาขาวิชาหรือหลายศาสตร์
การผสมผสานรูปแบบ วิธีการ และสื่อที่ใช้ต่างๆ
การแก้ไขปัญหาแบบเชื่อมโยง
เกิดกระบวนการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับรู้ ร่วมเรียนรู้ ร่วมรับผลในการทำงานร่วมกัน
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทำให้เกิดการประหยัดทรัพยากร
ทำให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติงานแบบบูรณาการ
ข้อควรพิจารณา
การศึกษาสภาพพื้นที่
การออกแบบรูปแบบผสมผสานในแต่ละพื้นที่
ศึกษาลักษณะการทำงาน
การประเมินผลเพื่อใช้ในพื้นที่ใหม่
ภัสสร 7
ตามจุดเน้น
รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรจำแนกตามบุคคลเป้าหมาย
ลักษณะสำคัญ
พัฒนาจากเกษตรกรรายย่อย เป็นเกษตรกรที่เกิดการรวมตัวกันเป็นกลุ่มเกษตรกร
จุดเน้นคือ ตัวบุคคลที่ต้องการพัฒนา
เกษตรกรรายย่อย
กุล่มเกษตรกร
เครือข่ายเกษตรกร
แนวทาง
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรของเกษตรกรรายย่อย
สร้างองค์ความรู้ที่เหมาะสมเกี่ยวกับการประกอบอาชีพการเกษตร
สร้างความมั่นคงในการประกอบอาชีพและการสร้างรายได้แก่เกษตรกร
สร้างความมั่นคง ปลอดภัยด้านอาหารในครัวเรือนเกษตรกร
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรของกลุ่มเกษตรกร
สร้างองค์ความรู้ในการรวมกลุ่มของเกษตรกร
สนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร สถาบัน และองค์กรเกษตรกร
สร้างขีดความสามารถทางการแข่งขัน
ส่งเสริมการบริหารจัดการกลุ่ม
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรของเครือข่ายเกษตรกร
สนับสนุนการเข้าถึงข้อมูล
การส่งเสริมการลงทุนทะ้งในและต่างประเทศ
การปรับปรุงกฎระเบียบเพื่อลดปัญญาและอุปสรรคในการค้าสินค้าเกษตรเชิงพาณิชย์
ข้อควรพิจารณา
การเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย
การจัดความสัมพันธ์เชื่อมโยงบุคคล
วิธีการส่งเสริมที่เหมาะสมตามลักษณะของบุคคลเป้าหมาย
รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรจำแนกตามพื้นที่เป้าหมาย
ลักษณะสำคัญ
การกำหนดพื้นที่เป้าหมาย
การกำหนดเป้าหมายการพัฒนา
การมีผู้ประสานงานพื้นที่
การบริหารจัดการแปลงในด้านผลิตและการตลาด
การรวมกลุ่มเกษตรกร
การประสานงานร่วมมือกับภาคีและเครือข่าย
ตัวอย่างแนวทาง
ขั้นตอนการเตรียมการ
กำหนดพื้นที่เป้าหมาย
กำหนดแนวทางการดำเนินงาน
การชี้แจงประชาสัมพันธ์
ขั้นตอนการพัฒนาผู้ประสานงานหรือผู้จัดการพื้นที่
การอบรมผู้จัดการพื้นที่
การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้จัดการพื้นที่
การจัดการทีมให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้จัดการพื้นที่
ขั้นตอนการดำเนินงาน แนวทางส่งเสริมฯ
การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การบริหารจัดการผลิตและการตลาด
การติดตามและประเมินผล
ข้อควรพิจารณา
การวิเคราะห์พื้นที่ให้ชัดเจน
ไม่ยึดตติดกับพื้นที่การปกครอง
การประสานงานที่มีลักษณะเป็นการบูรณาการโดยมีศูนย์กลางคือพื้นที่
การแบ่งปันไม่แข่งขัน
รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรจำแนกตามสินค้าและบริการเป้าหมาย
ลักษณะสำคัญ
การกำหนดสินค้าและบริการเป้าหมาย
การวิเคราะห์ความสามารถของพื้นที่ในการผลิตสินค้า
การผลิตสินค้าที่สอดคล้องกับสถานการณ์
แนวทาง
แนวทางการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทาน
แนวทางการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรด้วยการเพิ่มคุณค่าสินค้า
แนวทางการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรด้วยการเพิ่มมูลค่าสินค้า
แนวทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตร
การเคลื่อนย้ายสินค้า
การพัฒนาการเคลื่อนย้ายข้อมูล
แนวทางการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม
การเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
การส่งเสริมการใช้ฉลากสินค้าการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ
แนวทางการเสริมสร้างการผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นพืชอาหารและพืชใช้พลังงานให้เกิดความมั่นคง
แนวทางการผลิตสินค้าเกษตรที่เ็นพืชอาหารให้มีปริมาณเพียงพอ
แนวทางการผลิตและการกระจายผลผลิตสินค้าเกษตรให้ทั่วถึง
แนวทางการผลิตบนพื้นฐานความปลอดภัยทางอาหาร
แนวทางสนับสนุนดารพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตร
การส่งเสริมการใช้หลักโลขิสติกส์เข้ามาช่วย
การจัดตั้งศูนย์รวมและกระจายสินค้าเกษตร
การส่งเสริมให้มีการขยายตลาดเฉพาะ
การสนับสนุนการสร้างเครือข่ายการผลิต การตลาด และการบริโภค
การส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้และทักษะด้านการตลาดสินค้าเกษตร
ข้อควรพิจารณา
อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของสินค้าและบริการ
การเกิดนวัตกรรมสินค้าและบริการ
คุณภาพและมาตรฐานของสินค้าและบริการ
การพิจารณาตลาด
ความสอดคล้องระหว่างศักยภาพการผลิตและปริมาณความต้องการของตลาด
การสื่อสารกับตลาดผู้บริโภค
ตามวัตถุประสงค์
รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการพึ่งพาตนเอง
ลักษณะสำคัญ (TERMS)
การพึ่งพาตนเองได้ทางเทคโนโลยี (Technology)
การพึ่งพาตนเองได้ทางเศรษฐกิจ (Economy)
การพึ่งตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ (Resources)
การพึ่งตนเองได้ทางจิตใจ (Moral)
การพึ่งตนเองได้ทางสังคม (Social)
แนวทาง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 คือ การส่งเสริมให้เกษตรกรเกิดความมั่นคง
ทฤษฎ๊ใหม่ขั้นที่ 2 คือ การส่งเสริมให้เกษตรกรเกิดการรวมกลุ่ม
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 คือ การส่งเสริมให้เกิดกรเชื่อมโยงระดับเครือข่าย
ข้อควรพิจารณา
มีระดับขั้นของการพิจารณา
สามารถวิเคราะห์การพึ่งพาตนเองได้หลายมิติ
รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการดำเนินการเชิงธุรกิจ
ลักษณะสำคัญ
การส่งเสริมการขาย
การส่งเสริมแบบครบวงจร
การส่งเสริมที่ใช้การตลาดนำ
การส่งเสริมที่ดำเนินการแบบหวังผลกำไรธุรกิจทางอ้อม
แนวทาง
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการผลิต
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการตลาด
ผลิภัณฑ์ product
ราคา Price
การจัดจำหน่าย Place
การส่งเสริมการตลาด Promotion
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านโลจิสติกส์
การเคลื่อนย้ายสินค้า
การจัดการระบบข้อมูลสินค้า
การจัดการคงคลังสินค้า
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการเงิน
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ข้อควรพิจารณา
ความชัดเจนของข้อมูลการตลาด
นวัตกรรมการจัดการ
ทักษะของนักจัดการ
การวิเคราะห์การเกษตรทั้งห่วงโซ่อุปทาน
การพร้อมรับความเสี่ยง
ทักษะการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
มาตรการจูงใจ