Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภัสสร 6 - Coggle Diagram
ภัสสร 6
แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไข ความรู้ และคุณธรรม เพื่อการพัฒนาที่สมดุล มั่นคงและยั่งยืน
การสร้างเบญจภาคีและพัฒนาเบญจขันธ์ของชุมชนเกษตรกรรม
ชุมชน
รัฐ
นักวิชาการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและสื่อมวลชน
องค์กรธุรกิจ
การพัฒนาแบบบูรณาการและกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของเกษตรกร (5 ร)
รวมคน
ร่วมคิด
ร่วมทำ
ร่วมสรุปบทเรียน
ร่วมรับผลจากการกระทำ
การพัฒนาเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนเกษตรกรรมในมิติต่างๆ
1.กระแสการพัฒนาตามเเนวความคิดและปรัชญาตะวันตกในรูปทุนนิยมนับวันจะรุนแรง โดยเฉพาะการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจและการค้าชนบทไม่อาจหลีกเลี่ยงกระแสดังกล่าวจึงจะเสียสมดุลมากขึ้น
2.การปฏิเสธกระแสพัฒนาดังกล่าว โดยให้ชนบทหวนกลับไปมีวิถีการดำรงชีวิตแบบพึ่งตนเอง บนพื้นฐานของปรัชญาตะวันออกอย่างเดียวเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยากหรือไม่ได้เลย
3.ทางออกที่เป็นไปได้คือ การประสานระหว่างปรัชญาตะวันออกและตะวันตกระหว่างของเก่ากับของใหม่ ระหว่างการพึ่งตนเองกับการพัฒนาให้สอดคล้องกัน
การเสริมสร้างศักยภาพการพึ่งตนเองของเกษตรกรและชุมชนระดับต่างๆ
ระดับท้องถิ่น
ระดับชุมชน
หมู่บ้าน
ครัวเรือน
การกำหนดยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงระดับโลก
กฎ กติกาใหม่ของโลก
การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง
ประชากรโลกจะเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลก
อุณภูมิโลกที่สูงขึ้น
ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานมีแนวโน้มเป็นปัญหาสำคัญ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สถานการณ์ภายในประเทศ
สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ของประชากรและโอกาสการเข้าถึงทรัพยากร
ประเทศไทยยังต้องเผชิญกับ กับดักรายได้ปานกลาง เเม้ว่าเศรษฐกิจจะโตขึ้นต่อเนื่อง
GDP ภาคเกษตรมีการเติบโตในอัตตราที่ต่ำกว่าภาคอุตสาหกรรมและบริการ
ระบบการผลิตต้องพึ่งปัจจัยจากต่างประเทศ ทำให้มีต้นทุนสูง
การผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญในช่วงที่ผ่านมามีอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้น
ประชากรภาคเกษตรเป็นกลุ่มที่ภาครัฐต้องให้การดูแลอย่างไกล้ชิดและต่อเนื่อง
ทรัพยากรดินมีความเสื่อมโทรมมากขึ้นพื้นที่ชลประทานมีปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อความต้องการ
นโยบายและมาตรการต่างๆของภาครัฐให้การช่วยเหลือเกษตรกร
การบริหารจัดการภาคการเกษตร การพัฒนามีแนวโน้มลดลง การจัดสรรงบประมาณด้านการเกษตรค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับด้านอื่นๆ
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
ยุทธศษสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาทรัพยากรบุคคลและความเข้มแข็งขององค์กรเกษตรกร
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาและคุ้มครองมรัพยากรการผลิตทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคการเกษตรและการสร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการกองทุนการเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อประสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การปรับปรุงและพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาระบบการบริหารงานอง๕ืกรส่งเสริมการเกษตรให้มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 8 การบูรณาการ กรประสานงานและการสร้างกลไกร่วมภทครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจและภาคการเกษตรกรในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวทางงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ด้านการจัดระบบการผลิตให้สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่และความต้องการของตลาด
ด้านการส่งเสริมการรวมกลุ่มการผลิตทางการเกษตร
ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ด้านการเพิ่มมูลค่าผลผลิตภาคเกษตร
ด้านการเร่งพัฒนาและขับเคลื่อนการผลิตเกษตรอินทรีย์อย่างจริงจัง
ด้านการส่งเสริมและเร่งขยายผล แนวคิดการทำการเกษตร ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเเนวทางของมูลนิธิปิดทองหลังพระ
ด้านการสนับสนุนการจัดทำแผนแม่บทภาคเกษตรให้มีความยั่งยืน
ด้านการพัฒนาฐานข้อมูลด้านอุปสงค์และอุปทานด้านการเกษตร
ด้านการสร้างบุคคลากรด้านการเกษตร
ความหมายและการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ทัศนพื้ยฐานอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง อันกำหนดแบบแผนการคิดและการปฏิบัติในประชาคมหนึ่งเมื่อทัศนะพื้นฐานเปลี่ยนแปลงแบบแผนการคิดและปฎิบัติจะเปลี่ยนไปทั้งกระบวร เรียกว่าเป็นการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
กระบวนทัศน์เก่า
มองแยกส่วน
แข่งขันกำไร
เหนือธรรมชาติ
ความเหนือกว่าของวัฒนธรรมตะวันตก
รวมศูนย์อำนาจ
ปฎิเสธโลกทางจิตวิญญาณ
บทบาทชาย
กระบวนทัศน์ใหม่
มององค์รวม
ร่วมมือประสานประโยชน์
เป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ
ความเท่าเทียม หลากหมลายของวัฒนธรรม
กระจายอำนาจ
ความสำคัญของจิตวิญญาณ
ความเสมอภาคทางเพศ
ในการบริหารงานส่งเสริมการเกษตร
กระบวนทัศน์เก่า
มองเจ้าหน้าที่เป็นทรัพยากร
ใช้เจ้าหน้าที่ในรูป ปัจเจกบุคคล
จัดองค์การในรูปแนวตั้ง
มุ้งเน้นภายในมองที่นาย
องค์การจัดตามสายงาน
ใช้ IT เพือคุมเจ้าหน้าที่
ประเมินผลเจ้าหน้าที่ เพื่อวัดผลงาน
ถือ ประสิทธิภาพเป็นหลัก
กระบวนทัศน์ใหม่
มองเจ้าหน้าที่เป็น คน
ใช้เจ้าหน้าที่ในรูปทีมงาน
จัดองค์การในรูปแนวนอน
มุ่งเน้นภายนอกมองที่ ลูกค้าหรือเกษตรกร
องค์การจัดตามกระบวนการทำงาน
ใช้ IT เพื่อช่วย สนับสนุนเจ้าหน้าที่
ประเมินผลเจ้าหน้าที่เพื่อพัฒนา
ถือประสิทธิผลเป็นหลัก
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แผนพัฒนาฯ ฉ.1
พัฒนาเศรษฐกิจ เร่งรัดพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพก่อน
แผนพัฒนาฯ ฉ.2
เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ กระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค กระจายการวางแผนสู่กระดับกระทรวง
แผนพัฒนาฯ ฉ.3
เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การรักษาเสถียรภาพทางการเงิน วางแผนพัฒนาสังคม กำหนดนโยบายประชากร
แผนพัฒนาฯ ฉ.4
กำหนดนโยบายแก้ปัญหากว้างๆ เน้นแนวคิดการพัฒนากับความต้องการของประชาชน แผนพัฒนาจังหวัด
แผนพัฒนาฯ ฉ.5
เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจเน้นแก้ปัญหาผู้ยากจน เปลี่ยนวิธีการวางแผนจากรายโครงการมาเป็นการจัดทำแผนงาน
แผนพัฒนาฯ ฉ.6
เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สนับสนุนการวางแผนจากระดับล่างทบทวนปรับปรุงการบริหารงานของรัฐ นำปัญหาชาวชนบทมากำหนดแผน
แผนพัฒนาฯ ฉ.7
แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เน้นการพัฒนาที่สมดุลในมิติต่างๆ
แผนพัฒนาฯ ฉ.8
การพัฒนาที่ยั่งยืน คนเป็นวัตถุประสง๕ืหลักของการพัฒนา ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
แผนพัฒนาฯ ฉ.9
สร้างสังคมที่พึงประสงค์ สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีการบริหารจัดการที่ดีทุกระดับ
แผนพัฒนาฯ ฉ.10
พัฒนาคุณภาพคนสู่สังคมภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สร้างความเข้มเเข็งของชุมชนและสังคม
แผนพัฒนาฯ ฉ.11
สร้างความเป็นธรรมในสังคม เชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ความเข้มแข็งภาคการเกษตร ความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
แผนพัฒนาฯ ฉ.12
ยึดคนเป็นศูนย์กลางปฎิรูปประเทศพัฒนาสู่ความมั่นคงมั่งคั่ง ยั่งยืน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในแต่ละยุคสมัย
ยุคก่อนการจัดระบบงานส่งเสริมการเกษตร (ก่อน พ.ศ.2510)
การส่งเสริมการเกษตรกระจายอยู่ตามกรมต่างๆ จึงมีการรวมงานส่งเสริมจากหน่วยงานต่างๆมารวมเป็นกรมส่งเสริมการเกษตร
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร ระยะที่ 1 (2510-2519)
การส่งเสริมปรับปรุงให้ความรู้กว้างๆ มีการทดลงนำร่องในการส่งเสริม เขตชลประทาน จัดระบบการถ่ายทอดแบบยุคคลวิถ๊ ส่งเสริมการเกษตรร่วมกับผู้นำท้องถิ่น
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรระยะที่ 2 (2520-2529)
ใช้ระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน ช่วยเหลือเกษตรกรอย่างใกล้ชิดทั่วถึง มีเกษตรตำบลประจำพื้นที่ จัดทำแปลงส่งเสริมทุกหมู่บ้าน
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรระยะที่ 3 (2530-2534)
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการพัฒนาแบบบูรณาการในการพัฒนาเกษตรกร เน้นพัฒนาในเขตยากจน
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมกรเกษตรระยะที่ 4 (2535-2539)
เน้นสนับสนุนแผนการผลิตของเกษตรกร การจัดทำแผนการผลิตระดับไร่นา เจ้าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรระยะที่ 5 (2540-2554)
น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการพัฒนา นำร่อง ศบกต เป็นกลไกทำงานในพื้นที่
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรระยะที่ 6 (2555-2560)
ใช้ระบบ MRCF จัดตั้ง ศพก. แปลงใหญ่ เน้น อบรมและเยี่ยมเยียน มีระบบสนับสนุน ระบบจัดการข้อมูล ระบบนิเทศ
ปัญหาภาคการเกษตรด้านต่างๆ
ด้านการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้านการพัฒนาเกษตรกรและิงค์กรเกษตรกร
ด้านการพัฒนาการบริหารงานส่งเสริมการเกษตร
ด้านบุคคลากรและการบริหารบุคคล
ด้านการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร
ด้านการจัดทำแผน และบริหารแผนงานโครงการและงบประมาณ
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัจจัย ทิศทาง การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัย
ปัจจัยภายในประเทศ
สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจไทยในภาพรวมประสบความสำเร็จในระดับที่น่าพอใจ
การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการลดลงของขีดความสมารถในการแข่งขันของภาคการผลิต
การขยายตัวที่ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ต่ำและมีความผันผวนมากขึ้น
การพัฒนาเศรษฐกิจมีปัจจัยคุกคาม/ความเสี่ยงต่อความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจมีปัจจัยสนับสนุนและโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม อยู่ในลำดับต่ำ
สถานการณ์และแนวโน้มของสังคมไทย
โครงสร้างประชากรำทยเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมสูงวัย
แรงงานภาคการเกษตรจะลดลง
คุณภาพคนไทยทุกกลุ่มวัยยังมีปัญหา
ครอบครัวพ่อแม่เลี้ยงเดี่ยวและครอบครัวข้ามรุ่นจะมีความเปราะบางสูง
คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทยยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ
คนไทยมีแนวโน้มเป็นโรคไม่ติดต่อมากขึ้นซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต
รายจ่ายด้านสุขภาพภาครัฐมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
คนไทยส่วนใหญ่ยังมีปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ฐานทรัพยากรธรรมชาติลดน้อยลงและเสื่อมโทรม
การเข้าถึงและการจัดสรรการใช้ประโยชน์ทรัพยกรธรรมชาติยังไม่เป็นธรรม
มีความเสี่ยงในการขาดแคลนน้ำในอนาคต
ปัญหามลพิษส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนและต้นทุนทางเศรษฐกิจรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ไม่ยั่งยืน
การเจริญเติบโตของภาคเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ
กิจกรรมทางการเกษตรกระจุกตัวในกรุงเทพมหานครและภาคกลาง
กลไกการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดยังไม่สามารถเชื่อมโยงการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การขยายตัวของเมืองในภาคต่างๆของประเทศเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
พื้นที่เศรษฐกิจหลักของประเทศมีแนวดน้มการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระดับสูง
การพัฒนาพื้นที่และอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานยังไม่สามารถดำเนินการได้อย่างเต็มศักยภาพ
ความมั่นคงภายในประเทศ
สถาบันหลักของชาติได้รับผลกะทบจากความขัดแย้ง
สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ประเทศไทยมีความเสี่ยงสงจากอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
ปัญหาความมั่นคงและผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล
ปัญหาโรคระบาดและสถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุขอื่นๆ
ความร่วมมือระหว่างประเทศและความเชื่อมโยงเพื่อการพัฒนา
ประเทศไทยมีบทบาทที่โดดเด่นมากขึ้นในเวทีระหว่างประเทศ เวทีภูมิภาค และวทีประเทศเพื่อนบ้าน
ความคืบหน้าหน้ากรอบความร่วมมือที่สำคัญ
GMS
IMT-GT
กรอบความร่วมมืออาเซียน
RCEP
APEC
TPP
การบริหารจัดการภาครัฐ
ภาครัฐมีขนาดใหญ่และรายจ่ายประจำสูงขึ้นอย่างต่อนื่อง
คนรุ่นใหม่ที่มีความรู้ความสามารถไม่นิยมเข้ารับราชการทำให้ขาดกำลังทดแทนราชการที่เกษียณอายุ
การบริหารจัดการภาครัฐมีประสิทธิภาพต่ำ
กระบวนการจัดสรรงบประมาณขาดประสิทธิภาพและไม่มีประสิทธิผลเท่าที่ควร
การทุจริตและประพฤติมิชอบได้ขยายไปในวงกว้างทั้งภาครัฐ ถาคเอกชน
รัฐวิสาหกิจมีการกำกับดูแลที่ขาดแผนการดำเนินงานเชิงกลยุทธ์อย่างมีประสิทธิภาพและมีการบริหารที่ซับซ้อน
องคฺกรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบริหารจัดการและการให้บริการแระชาชนที่ขาดประสิทธิภาพและความโปร่งใสเท่าที่ควร
กฏหมายหลายฉบับยังไม่ได้มาตรฐานสากลเนื่องจากล้าสมัย
ระบบและกระบวนการยุติธรรมบางส่วนยังขาดประสิทธิภาพ
ความอ่อนแอของสังคมไทย
ความอ่อนแอทางศิลธรรม
ความอ่อนเเอทางปัญญา
ความอ่อนแอของระบบเศรษฐกิจ
ความอ่อนแอของระบบรัฐ
ความอ่อนแอของสังคม
ปัจจัยภายนอกประเทศ
สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจโลก
ตลาดเกิดใหม่มีบทบาทสูงขึ้น
ตลาดการเงินโลกไร้พรมแดน
การเปิดเสรีมากขึ้นของอาเซียนภายหลัง พ.ศ. 2558
รูปแบบการค้ามีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปสู่การค้าเสรีเฉพาะกลุ่มมากขึ้น
การวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด
เกิดสาขาอุตสาหกรรมและบริการใหม่ๆ หลากหลายสาขา
มนุษย์เข้าถึงข้อมูลและองค์ความรู้ได้อย่างไร้ขีดจำกัด
การแย่งชิงแรงงานที่มีทักษะด้านเทคโนโลยีระดับสูง
เกิดความเหลื่อมล้ำในมิติต่างๆ
สถานการณ์และแนวโน้มสังคมโลก
การเข้าสู่สังคมสูงวัยของโลกส่งผลต่อเศรษฐกิจและรูปแบบการดำเนิชีวิต
การเลื่อนไหลของกระแสวัฒนโลกที่ผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่น
สถานการณ์และเเนวโน้มสิ่งแวดล้อมโลก
วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน
ข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะทวีความเข้มข้น
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีความผันผวนและรุนแรงมากขึ้น
สถานการณ์ความมั่นคงโลก
ประเทศมหาอำนาจมีเเนวโน้มของการขยายอิทธิพลและการเพิ่มบทบาทในภูมิภาคต่างๆ ของโลก
ความขัดแย้งด้านอาณาเขตแบบรัฐต่อรัฐ
อาชญากรรมข้ามชาติ มีแนวโน้มขยายตัวและควบคุมได้ยาก
การก่อการร้ายกำลังส่งผลกระทบต่อสังคมโลก
ทางเลือกของการพัฒนาประเทศ
การพัฒนาโดยอาศัยกระแสการพัฒนาของโลก เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับการพัฒนาโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยให้สามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น
การวางตำแหน่งประเทศไทยเป็นแกนกลางและเชื่อมโยงกับประเทศในอนุภูมิภาค
ทิศทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ข้อควรพิจารณา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรและคุณค่าวัฒนธรรมท้องถิ่น
การเสริมสร้างเครือข่ายชุมชนเกษตรกรที่เข้มแข็ง
การบริหารจัดการทรัพยการธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาสมรรถภาพทางเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขัน
การปรับระบบการบริหารงานส่งเสริมการเกษตร
ทิศทางการพัฒนาประเทศ
แนวคิดปรัชญาหลักของการวางแผนพัฒนาประเทศ
ยึดแนวคิดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สังคมไทยที่พึงปรารถนา
สังคมคุณภาพ
สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
สังคมสมานฉันท์และเอื้อาทรต่อกัน
ทิศทางการพัฒนาที่สำคัญ
การวางวิสัยทัศนืและบทบาทของไทยในประชมคมโลก
การวางพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพคุณภาพคนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การสร้างความเป็นธรรมในสังคม
การดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาคเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการแข่งขัน
การเสริมสร้างการวิจัยและการพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีของไทยให้เข้มแข็ง
การปฏิรูปการจัดการทรัพยกรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
การพัฒนาพื้นที่ตามศักยภาพ
ทิคทางการพัฒนาการเกษตรในภาพรวม
การพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
การพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร
การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
การจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
ทิศทางการพัฒนาชุมชนเกษตร
การทำเกษตรกรรมยั่งยืน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนสวัสดิการชุมชน
ธุรกิจชุมชน
อุตสาหกรรมชุมชน
การจัดการด้านสุขภาพชุมชน
การเรียนรู้ของชุมชน
ทิศทางการพัฒนาการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน