Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาพยาบาลดบื้องต้นด้านปัจจุบันพยาบาล - Coggle Diagram
การรักษาพยาบาลดบื้องต้นด้านปัจจุบันพยาบาล
หน้าที่หลักของการพยาบาลห้องฉุกเฉิน
ประเมิน/จำแนกผู้ป่วย
จัดการกับอาการรบกวนต่างๆ
ดูเเลความปลอดภัย
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้การดูแลต่อเนื่อง
สนับสนุนการดูแลสุขภาพ
สร้างความพึงพอใจ
การจำแนกประเภทของผู้ป่วยฉุกเฉิน
1.การจำแนกประเภทของผู้ป่วยฉุกเฉินตามสาเหตุ Trauma คือ ผู้ป่วยฉุกเฉินที่เกิดจากอุบัติเหตุและการทำร้ายร่างกาย Non-trauma คือ ผู้ป่วยฉุกเฉินจากสาเหตุอื่น เช่น สูตินรีเวช ฉุกเฉินทางจิตเวช ฉุกเฉินทางตา หู คอ จมูก
2.การจำแนกประเภทของผู้ป่วยฉุกเฉินตามความรุนเเรง
-Emergent ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ ได้เเก่เจ็บป่วยกะทันหัน คุกคามต่อชีวิต ใช้สัญลักษณ์ สีแดง
-Urgent ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน มีภาวะเฉียบพลันมากหรือเจ็บปวดรุนแรง
ใช้สัญลักษณ์ สีเหลือง
-Non-urgent ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง มีภาวะเจ็บป่วยเฉียบพลันไม่รุนเเรงรอรับปฏิบัติการแพทย์ได้ในช่วงระยะหนึ่ง ใช้สัญลักษณ์ สีเขียว
-ผู้ป่วยทั่วไป เจ็บป่วยแต่ไม่ใช่ผู้ป่วยฉุกเฉิน ใช้สัญลักษณ์ สีขาว
-ผู้รับบริการสาธารณสุขอื่น มารับบริการอื่น โดยไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากร เช่นขอใบรับรองแพทย์ ใช้สัญลักษณ์ สีดำ
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน CPR
1.ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ
2.ปลุกเรียกผู้ป่วย + ขอความช่วยเหลือ + เข้าถึง AED
3.ประเมินการหายใจ พร้อมกับคลำชีพจร ภายใน 10 วินาที
หมดสติ (Unconscious) ร่างกายไม่รับรู้หรือตอบสนองต่อสิ่งเเวดล้อม ประเภทของการหมดสติ หมดสติแต่มีการหายใจ หมดสติพร้อมกับหายใจขัดหรือหยุดหายใจ
ช็อค (Shock) สภาวะที่มีการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ สาเหตุของภาวะช็อคเกิดจาก low perfusion pressure,เกิดจาก low cellular oxygen
ชัก (Seizure) การเปลี่ยนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นชั่วขณะเนื่องจากมีความผิดปกติในสมอง แบ่งเป็น Convulsive,Non-convulsive
Status epilepticus ชักตั้งแต่ 2 ครั้งติดกันในเวลาอันสั้น
สาเหตุของการชัก
1.ไม่ทราบสาเหตุ เช่น บาดเจ็บระหว่างคลอด โรคหลอดเลือดสมอง
2.รอยโรคของสมองโดยตรง เช่น สมองได้รับการกระทบกระเทือน
3.ความผิดปกติทางชีวเคมี เช่น น้ำตาลในเลือดต่ำ สมองขาดออกซิเจน
ชนิดของการชัก
1.การชักบางส่วน เป็นการชักที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ ไม่มีอาการหมดสติ แต่แสดงออกทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
2.อาการชักทั่วไป อาการชักจะเกิดขึ้นทั้งตัว
เป็นลม (Syncope/Fainting) ภาวะหมดสติชั่วคราว จากการที่เลือดไปเลี้ยงสมองลดลง เกิดจากการอยู่ในที่ๆมีอุณหภูมิสูงเหนื่อยจัด หิวจัด ความเครียด เสียเลือด เสียน้ำ เสียเกลือเเร่ ความดันตกในท่ายืน
สัตว์กัด แมลงกัดต่อย และสารพิษ
สัตว์กัด ล้างทำความสะอาดแผล,บาดแผลเล็ก ทำแผล ใส่ยาและปิดเเผล,ให้ยาแก้ปวด,ฉีดวัคซีนป้องกันบาททะยักทุกราย,ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
งูพิษกัด หาเขี้ยวงูหรือฟันงู,รัดเหนือบาดแผล 2 เปลาะ คลายทุก 15 นาที.เคลื่อนไหวน้อยที่สุด,ทำความสะอาดแผล > รีบนำส่งรพ.
สารพิษ
การลดการดูดซึมยาในทางเดินอาหา
การทำให้อาเจียน
การล้างท้อง
การใช้ผงถ่าน
การทำ whole bowel irrigation
การใช้ยาระบาย
การตกเลือด (Hemorrhagic in trauma patient)
Hypothemia
การเมาตบอลิซึมในร่างกายลดลง
การให้สารน้ำอย่างรวดเร็วในขั้นตอน CPR
เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆเพื่อพยายามรักษาอุณหภูมิของร่างกาย
Coagulopathy
การเเข็งตัวผิดปกติของเลือดเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น acidosis,ปริมาณเลือดที่เสีย
การเกิด DIC ในผู้ป่วยอุบัติเหตุนี้เกิดจากไขมัน และphospholipid จากเนื้อเยื่อที่ได้รับบาดเจ็บเข้าสู่กระแสเลือด
Metabolic acidosis
ปริมาณออกซิเจนที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆไม่เพียงพอ เลือดในร่างกายเป็นกรด
การประเมิน ATLS ได้เเบ่ง hemorrhage classification ไว้ 4 class
Class I Hemorrhage มีเลือดออก < 15% V/S ดี
Class II Hemorrhage มีเลือดออก 15-30% ผู้ป่วยจะเริ่มมีหัวใจเต้นเร็ว
Class III Hemorrhage มีเลือดออก 30-40% ผู้ป่วยจะเริ่มมีเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆไม่เพียงพอ
Class IIII Hemorrhage มีเลือดออก > 40% เป็นระดับที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตด้
การดูแลตำแหน่งที่มีเลือดออก
การบำบัดทางด้านหัตถการ
การบำบัดหัตถการ หมายถึง การรักษาพยาบาลผู้ป่วยโดยใช้ดครื่องมืออุปกรณ์ วัสดุ และยาเวชภัณฑ์ ร่วมกับการผ่าตัดเล็ก
การบำบัดหัตถการแผล
What : วัน เวลาที่เกิดบาดแผล สาเหตุ การรักษา
Assessment : ตำแหน่ง ขนาด เนื้อเยื่อในแผล ผิวหนังรอบแผล สิ่งแปลกปลอม สารคัดหลังRefer เช่น เส้นเลือดฉีกขาด เนื้อเยื่อหายไป ผิวหนังมาชิดกันไม่ได้
แผลไม่เย็บ แผลติดเชื้อ แผลนานเกิน 12 ชั่วโมง
แผลที่ควรเย็บ แผลอุบัติเหตุไม่เกิน 6 ชั่วโมง / นานเกิน 6 ชั่วโมง ไม่เกิน 12 ชั่วโมง เนื้อเยื่อไม่ช้ำ แผลสะอาด ไม่มีการทำงานของเส้นเลือด เส้นเอ็น เส้นประสาท
ยาชาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ (Local anesthesia)Procaine Hydrochloride หรือNovocaine ฤทธิ์ยาจะอยู่ได้นาน โดยเติม Adrenaline
หลักทั่วไปในการฉีดยาชา
1.พูดคุยซักประวัติผู้ป่วยอธิบายให้คลายกังวลให้นอนในท่าที่สบาย
2.เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมใช้งาน เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา ยาชา
3.ฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง ให้เกิด Intradermal wheal เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเจ็บเวลาเคลื่อนเข็มยกเว้น บริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า หรือที่หนังศีรษะ
4.ค่อยๆปักเข็มที่ผิวหนัง
5.หากจะฉีดบริเวณกว้างควรแทงเข็มผ่านผิวหนังเพียงครั้งเดียว เปลี่ยนทิศทางของเข็มโดยไม่ต้องถอนเข็มออกจากผิวหนัง
6.ทดสอบที่ผิวหนัง เพื่อทดสอบความรู้สึก หากไม่รู้สึกสามารถทำหัตถการได้
การถอดเล็บ (Nail extraction) กรณีถอดเล็บ ได้แก่ เล็บเเตก,เสี้ยนตำ,เล็บขบ (Inverting nail) ใช้ Aterial clamps หรือ กรรไกรสอดเข้าใต้เล็บแล้วอ้าปลายปากออก เพื่อเเยกเล็บออกจากเนื้อใต้เล็บ (nail red) จนถึงโคนเล็บแล้วเอาปากคีบม้วนออกให้หมด
การผ่าฝี (Incission&Drainage (I&D)
ผ่าเพื่อระบายหนองออกเพื่อทำความสะอาดบริเวณฝี ผ่าเมื่อฝีกลัดหนองจะมีลักษณะนุ่มเหลว
*
ข้อควรระวัง ฝีบริเวณขาหนีบ หรือรักแร้ คอและใต้คาง อักเสบ > Refer
หูด (Warts)
โรคติดต่อทางผิวหนัง เกิดจากเชื้อไวรัส HPV
หากมีอาการน้อยใช้ยาแต้ม การพ่นด้วยสเปรย์เย็นจัด เป็นวิธีที่เเพทย์ใช้บ่อย การจี้ด้วยไฟฟ้า
การใช้วัคซีนเข้าที่ตัวหูด หรือใต้หูด ชนิดที่รักษายาก
การจี้หูดโดยใช้กรดแลคติค ให้ทายาบริเวณที่เป็นหูด 2-3 ครั้ง/วัน และให้ทาวาสลีนตรงผิวหนังปกติรอบๆหูด
การล้างท้อง เพื่อทำความสะอาดกระเพาะสำหรับส่องกล้องเเละการเตรียมผ่าตัด
เพื่อการวินิจฉัยเลือดออกในกระเพาะอาหารเเละห้ามเลือ
เพื่อขจัดสารหรือยาพิษที่ดื่มเข้าไป
การล้างตา (Eye irrigation)
ซักประวัติย่อๆและรีบทำการล้างตาทันที
สารเคมีเข้าตาถ้าจำเป็นขณะเตรียมเครื่องมือ ให้ใช้น้ำก๊อกล้างก่อน
จากนั้นล้างด้วย 0.9% NSS เปิดจากสายน้ำเหลือ ล้างให้มากพอจน pH เป็นกลาง
ข้อบ่งชี้ในการล้างตา
1.สารเคมีเข้าตา
2.สิ่งแปลกปลอมติดที่เยื่อบุตา เช่น ใบหญ้า ฟาง
3.เยื่อบุตาอักเสบ เช่น ขี้ตาเหนียว