Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศีกษา พ.ศ. 2546 - Coggle Diagram
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศีกษา พ.ศ. 2546
หมวด 1 สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ม.7 ให้มีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า คุรุสภา
ม.8 คุรุสภา มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กำกับดูแล และพัฒนาวิชาชีพ
กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
ประสาน ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
ม.9 คุรุสภามีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
1.การกำหนดลักษณะต้องห้ามตาม ม.13
2.ควบคุมความประพฤติและการดำเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
3.ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
4.พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอน
5.สนับสนุนส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพตามาตรฐานวิชาชีพ
6.ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพ
7.รับรองปริญญา ตามมาตรฐานวิชาชีพ
8.รับรองความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ
9ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
10.เป็นตัวแทนผู้ประกอวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย
11.ออกข้อบักคับของคุรุสภาพ
12.ให้คำปรึกษาหรือเสนอแนะต่อ ครม.เกี่ยวกับนโยบายหรือปัญหาการพัฒนาวิชาชีพ
13.ให้คำแนะนำหรือเสนอความเห็นต่อ รมต.เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
14.กำหนดให้มีคณะกรรมการเพื่อกระทำการใด ๆ
15.ดำนเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคุรุสภา
ส่วนที่ 5 การประกอบวิชาชีพควบคุม
ม.43 ให้วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาเป็นวิชาชีพควบคุม ตาม พรบ.นี้ ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบวิชาชีพควบคุม โดยไม่ได้รับใบอนุญาต เว้นแต่ กรณีอย่างใด อย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ -
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรานี้ ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 หรือ ทั้งจำทั้งปรับ (ตาม ม. 78)
1.ผู้ที่เข้ามาให้ความรู้แก่ผู้เรียนในสถานศึกษาเป็นครั้งคราว ในฐานะวิทยากรพิเศษ
2.ผู้ที่ไม่ได้ประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการสอนแต่ในบางครั้งต้องทำหน้าที่สอนด้วย
3.นักเรียน นักศึกษา ที่ได้รับอนุญาตปฏิบัติการสอน ซึ่งเป็นการฝึกหัดหรืออบรม
4.ผู้ที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย
5.ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในศูนย์การเรียนตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งเป็นการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย
6.คณาจารย์ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา ในระดับอุมศึกษา
7.ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา
8.บุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการครุสภากำหนด
ม.44 ผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพควบคุม ต้องมี
คุณสมบัติ ดังนี้
2.มีวุฒิปริญญาทางการศึกษา
3.ผ่านการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาทางการศึกษาไม่น้อยกว่า 1 ปี และผ่านการประเมิน
1.อายุไม่ต่ำกว่า 24 ปีบริบูรณ์
ลักษณะต้องห้าม ดังนี้
1.ประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี
2.เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
3.เคยต้องโทษจำคุกในคดีที่คุรุสภาเห็นว่าอาจเสื่อมเสียเกียรติ์แห่งวิชาชีพ
ม.49 มาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย
1.มาตรฐานความรู้และประสบการณืวิชาชีพ
2.มาตรฐานการปฏิบัติงาน
3.มาตรฐานการปฏิบัติตน ให้กำหนดเป็นข้อบังคับว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ ประกอบด้วย (ม.50)
3.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
4.จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
2.จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
5.จรรยาบรรณต่อสังคม
1.จรรยาบรรณต่อตนเอง
ม.51 ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากพฤติกรรมของผู้ประกอบวิชาชีพมีสิทธิกล่าวหาผู้นั้นโดยทำเรื่องยื่นต่อคุรุสภา และสิทธินั้นจะสิ้นสุดลงเมื่อพ้น 1 ปี และ จะระงับการดำเนินการไม่ได้
ม.52 เมื่อคุรสภาได้รับเรื่องแล้ว ให้เลขธิการคุรุสภาเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการวิชาชีพ
ม.53 ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีหนังสือแจ้งข้อกล่าวหาไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนเริ่มพิจารณา และผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิทำคชี้แจงหรือนำพยานหลักฐานส่งให้คณะกรรมการ ภายใน 15 วัน นับแต่ได้รับแจ้ง
ม.54 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจวินัยฉัยชี้ขาด อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
3.ภาคทันฑ์
4.พักใช้ใบอนุญาต แต่ไม่เกิน 5 ปี
2.ตักเตือน
5.เพิกถอนใบอนุญาต
1.ยกข้อกล่าวหา
ม.55 อาจอุทธรณ์คำวินิจฉัยได้ ภายใน 30 วัน นับแต่ได้รับแจ้ง
ม..56 ห้ามให้ผู้ที่ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพควบคุม หรือ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิประกอบวิชาชีพควบคม - ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรานี้ ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ม.57 ผู้ที่ถูกสั่งเพิกถอนจะยื่นอีกไม่ได้ จนกว่าจะพ้น 5ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน
ม.46 ห้ามมิให้ผู้ใดแสดงตนให้ผู้อ่ื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบวิชาชีพ โดยไม่ได้รับอนุญาติ -
หากฝ่าฝืน มาตรานี้ ระวางโทษ จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ