Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 - Coggle Diagram
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
มาตรา 6 ให้จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐระดับ ป.ตรี ที่เป็นนิติบุคคล ที่สังกัด ศธ.เท่านั้น
ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
หมวด 1 การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
มาตรา 9 ให้จัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ดังนี้
สำนักงานปลัดกระทรวง
ส่วนราชการที่หัวหน้าส่วนขึ้นตรงต่อ รมต.ศธ. ซึ่งแบ่งได้ดังนี้
สำนักงานปลัดกระทรวง
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีหน้าที่
4.ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตาม ข้อ 1
3.พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
2.พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาเพื่อให้เป็นไปตามแผนในข้อ 1
5.ให้คามเห็นหรือคำแนะนำในเรื่องกฎหมายและกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
1.พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่ ตาม ม.15
สนับสนุนทรัพยากร
ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลาง
เสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ์ และประกาศที่เกี่ยวกับการบริหารงานของสำนักงาน
ให้ความเห็นหรือให้คำแนะนำแก่ รมต.หรือ ครม.
หน้าที่อื่นที่กฎหมายกำหนดและที่ รมต.มอบหมาย
สำนักงานรัฐมนตรี
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2-4 เป็นนิติบุคคลและมีฐานะเป็นกรม
หมวด 2 การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา 33 รมต.โดยคำแนะนำของสภาการศึกษามีอำนาจกำหนดเขตพื้นที่การศึกษา ทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
มาตรา 34 ให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เฉพาะที่เป็นโรงเรียน มีฐานะเป็นนิติบุคคล
มาตรา 36 คณะกรรมการและสนง.เชตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
กำกับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษา
ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชน
ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถจัดการศึกษา
ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย
มาตรา 37 มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
1.การบริหารและการจัดการศึกษา และพัมนาสาระของหลักสูตรการศึกษา
2.การพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาร่วมกับสถานศึกษษ
3.รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาและสนง.เขตพื้นที่การศึกษา
4.ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด
หมวด 4 การปฏิบัติราชการแทน
มาตรา 44 คณะกรรมการเขตพื้นที่ สนง.เขตพื้นที่ และสถานศึกษา จะได้รับการกระจายอำนาจในการบริหารจัดการศึกษาภายใต้หลักการบริหารการศึกษา ดังนี้
1.อำนาจหน้าที่ในการพิจารณาเห็นชอบเกี่ยวกับงบประมาณและการดำเนินการทางงบประมาณของ ผอ.เขตพื้นที่ หรือ ผอ.สถานศึกษา
2.หลักเกณฑ์การพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา และดำเนินการทางวินัยกับครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 45 ผู้มีตำแหน่งต่อไปนี้อาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ ตามรายละเอียดดังนี้
1.รมต.อาจมอบให้ รมช. ปลัดกระทรวง เลขาธิการ
2.ปลัดกระทรวงอาจมอบให้รองปลัด ผู้ช่วยปลัด เลขาธิการ
3.เลขาธิการอาจมอบให้ รองเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ
4.ผู้อำนวยการสำนัก อาจมอบให้ ผอ.เขตพื้นที่ ผอ.สถานศึกษา
5.ผอ.เขตพื้นที่ อาจมอบให้ ข้าราชการใน สนง. หรือ ผอ.สถานศึกษา
6.ผอ.สถานศึกษา อาจมอบให้ ข้าราชการในสถานศึกษา
การมอบอำนาจทั้งหมดนี้ ต้องทำเปผ็นหนังสือ
มาตรา 46 ผู้ได้รับมอบอำนาจจะส่งมอบต่อให้ผู้อื่นมิได้
หมวด 5 การรักษาราชการแทน
ม.51 หากไม่ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการ ให้รองเลขาธิการรักษาราชการแทน หากไม่มีให้ข้าราชการ สนง.รักษาราชการแทน
ม.53 หากไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง ผอ.สนง.เขตพื้นที่ ให้ รอง ผอ.สนง.เขตพื้นที่รักษาราชการแทน หากไม่มีอีกให้ข้าราชการใน สนง.นั้น รักษาราชการแทน หรือ ผอ.สถานศึกษา รักษาราชการแทนได้
ม.50 หากไม่ผู้ดำรงตำแหน่งปลักกระทรวง ให้รองปลัดรักษาราชการแทน หากไม่มีให้ข้าราชการในกระทรวงรักษาราชการแทน
ม.49 หากไม่มีผ้ดำรงตำแหน่งเลขานุการ รมต. หใ้ผู้ช่วยเลขา รักษาราชการแทน
ม.54 หาก ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง ผอ.สถานศึกษา ให้ รอง ผอ.สถานศึกษา รักษาราชการแทน แต่หากยังไม่มีอีก ให้ ผอ.เขต แต่งตั้งให้ ข้าราชการในกสถานศึกษานั้น รักษาราชการแทน
ม.48 หากไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง รมต. ให้ รมช.รักษาราชการแทน
ให่้ผู้ที่รักษาราชการแทนนั้น มีอำนาจเช่นเดียวกันกับผู้ซึ่งที่ตนแทน