Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 22 ด.ช. อภิวรา อังคณาศรีโรจน์ อายุ 10 เดือน วัยทารก Dx. Anorectal…
เตียง 22 ด.ช. อภิวรา อังคณาศรีโรจน์
อายุ 10 เดือน วัยทารก
Dx. Anorectal malformation
Anorectal malformation
Anorectal malformation พยาธิสภาพ
เกิดจากผนังกั้นระหว่างส่วนที่จะเจริญไปเป็นอวัยวะระบบสืบพันธุ์และระบบปัสสาวะกับส่วนที่จะเจริญเป็นช่องทวารหนักและลำไส้ตรงไม่แยกออกจากกัน ในช่วงสัปดาห์ที่ 6 ของการตั้งครรภ์
สาเหตุของ Anorectal malformation
ยังไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและยาหรือสารเคมีที่มารดาสัมผัสในระยะตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ไม่มีการถ่ายขี้เทาภายใน 24 ชั่วโมง "ขี้เทา" (Meconium) มีลักษณะเหนียว ๆ สีเขียวดำถ้าเลย 24 ชั่วโมงไปแล้วยังไม่ถ่ายอุจจาระให้สงสัยไว้ก่อนว่าเกิดจากการที่ลำไส้อุดตัน
ไม่พบรูเปิดทางทวารหนักหรือพบเพียงรอยช่องเปิดของทวารหนักเท่านั้น
ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้ หากมีการอุดตันของลำไส้เป็นเวลานาน
กากอาหารที่ค้างที่ Rectum จะเพิ่มมากขึ้น
กระสับกระส่ายอึดอัด แน่นท้อง ท้องอืด
ปวดเบ่งอุจจาระ
ตรวจพบมีกากอาหารค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหาร
ข้อมูลสนับสนุน
O: มีแผลผ่าตัด Colostomy ที่บริเวณหน้าท้องตำแหน่ง LAARP
DNX.1 เสี่ยงต่อการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันภาวะ Infection
เกณฑ์การประเมิน
อุณหภูมิร่างกาย 36.5 - 37.5 องศา(ไม่มีไข้)
ไม่มีอาการติดเชื้อ ไม่มีไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย
แผลผ่าตัดที่หน้าอก ไม่มีdischarge ซึม ไม่มีเลือดซึม ไม่บวม แดง ร้อน บริเวณแผลผ่าตัด
ค่าWbc count 5.98 - 13.51 x1000/Ul , Neutrophils 18 - 70%% , Lymphocytes 26 - 80%
การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินแผลผ่าตัด Lt thorocotomy to total mass excision ที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ ได้เเก่ บวม แดง มีสีคล้ำ
ล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังให้การพยาบาลกับผู้ป่วย หรือการสัมผัสกับสารคัดหลั่งผู้ป่วย และให้การพยาบาลโดยใช้ หลัก Aseptic Technique
ดูแลให้ได้รับยา Antibiotic (Cefazoline) ตามแผนการรักษา
สังเกตอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลียรู้สึกปวด บวม แดง ร้อน บริเวณแผลผ่าตัด หรือ แผลมีdischarge ซึม
ระวังไม่ให้แผลโดนน้ำ เพื่อป้องกันการนำเชื้อโรคเข้าสู่แผลผ่าตัด ถ้าแผลเปียกน้ำให้ทำแผลใหม่ให้แห้งสะอาดทันที
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ WBC,Neutrophils,Lymphocytes
1 more item...
Electrolyte Imbalance
Electrolyte Imbalance หรือภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย เป็นภาวะที่อิเล็กโทรไลต์ในร่างกายไม่สมดุล ซึ่งอาจเกิดจากปริมาณของอิเล็กโทรไลต์ที่มากหรือน้อยจนเกินไป อิเล็กโทรไลต์เป็นชื่อที่ใช้เรียกแร่ธาตุที่มีบทบาทสำคัญในการรักษาระดับของเหลวในร่างกาย และช่วยให้ระบบที่สำคัญอื่น ๆ ทำงานได้อย่างปกติ เมื่ออิเล็กโทรไลต์ไม่สมดุลอาจทำให้เกิดอาการ อย่างหัวใจเต้นผิดปกติ เหนื่อยล้า ชัก และกล้ามเนื้ออ่อนแรงได้ สาเหตุของภาวะนี้อาจเกิดจากการสูญเสียน้ำในร่างกายเป็นจำนวนมาก อย่างการเสียเหงื่อ ท้องร่วง หรืออาเจียน โดยวิธีในการรักษาภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกายนั้นอาจขึ้นอยู่กับสาเหตุของอาการ
สาเหตุของ Electrolyte Imbalance
ภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกายนั้นเกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่สาเหตุที่พบได้บ่อยมักเกิดจากการได้รับแร่ธาตุอิเล็กโทรไลต์น้อยหรือมากเกินกว่าที่ร่างกายต้องการ ซึ่งภาวะของแร่ธาตุไม่สมดุลที่อาจทำให้เกิด Electrolyte Imbalance อาจมีดังนี้
ภาวะโซเดียมในเลือดสูงหรือต่ำกว่าปกติ
ภาวะแคลเซียมในเลือดสูงหรือต่ำกว่าปกติ
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูงหรือต่ำกว่าปกติ
ภาวะแมกนีเซียมในเลือดสูงหรือต่ำกว่าปกติ
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงหรือต่ำกว่าปกติ
ภาวะคลอไรด์ในเลือดสูงหรือต่ำกว่าปกติ
ภาวะเลือดเป็นกรดหรือด่าง (Acidosis)
อาการ
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง อาจถ่ายอุจจาระเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำเพียงอย่างเดียว และจำนวนครั้งของการถ่ายไม่มากนัก ส่วนผู้ป่วยมีอาการรุนแรง อาจถ่ายอุจจาระปริมาณมากหรือถ่ายเกิน 10 ครั้ง ต่อวันทำให้มีการสูญเสียน้ำและเกลือแร่ปริมาณมากจนอาจทำให้ความดันโลหิตต่ำได้
ข้อมูลสนับสนุน
O: ผู้ป่วยนั้นไม่สามารถรับประทานอาหารได้5วันก่อนมา
NDX.2 เสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ
และอิเล็กโทรลัยต์
วัตถุประสงค์
ไม่มีภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ
และอิเล็กโทรลัยต์
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีอาการแสดงของภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรลัยต์เช่น ผิวหนังแห้ง ปากแห้ง อ่อนเพลียความรู้สึกตัวลดลง
Urine ต้องไม่< 20 ml/4h
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการแสดงของภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรลัยต์ เช่น มีอาการขาดน้ำ ปากแห้ง คอแห้ง, ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน,กล้ามเนื้ออ่อนแรง, หัวใจเต้นเร็ว หรือเต้นผิดจังหวะ เป็นต้น
ดูแลให้เด็กได้รับ 5% Dextox/3 500 ml IV rate 50 ml/hr เพื่อให้ได้รับพลังงาน อย่างเพียงพอ
ถ้าเกิดเจออาการไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรลัยต์ให้ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพ ทุกครึ่ง- 1 ชั่วโมง จนกว่าจะคงที่จึงวัดทุก 4 ชั่วโมงและ การรู้สึกตัว
Record I/O keep urine< 20 ml/4hr ถ้าเกิดต่ำกว่าให้รายงานแพทย์
1 more item...
ข้อมูลส่วนบุคคล
วัคซีน
วัคซีนที่ควรได้รับในครั้งต่อไป
18 เดือน
วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) กระตุ้น 1, วัคซีน
โปลิโอชนิดกิน (OPV) กระตุ้น 1, วัคซีนหัดเยอรมัน-คางทูม (MMR2)
การตรวจร่างกาย
การเจริญเติบโตและโภชนาการ
การรักษาปัจจุบัน
ยาที่ได้รับและเหตุผลที่ใช้
การวิเคราะห์และแปลผล
ทางห้องปฏิบัติการ
พัฒนาการ
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ 10 เดือน
In case
ผู้ป่วยนั้นมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวัย
11 แบบแผน
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
บิดา มารดาและผู้ป่วยรับรู้ว่าผู้ป่วยนั้นพิการรูทวารแต่กำเนิดมารดานั้นดูแลบุตรของตนเป็นอย่างดีใส่ใจและไม่ละเลย
สรุป ไม่พบปัญหาในแบบแผนนี้
แบบแผนที่ 2 อาหาร
ปัจจุบันผู้ป่วยนั้นได้ NPO ตามแผนการรักษาตั้งแต่ 1/9/66
สรุป ผู้ป่วยนั้นเสี่ยงต่อการพร่อง Electrolyte Imbalance
แบบแผนที่ 3 การขับถ่ายของเสีย
สีเหลืองใสปกติไม่มีสีเลือดหรือโค้ก อุจจาระสีน้ำตาลดำ เนื้อเหลวปัสสาวะ 4-5 ครั้งต่อวัน
สรุป ไม่พบปัญหาในแบบแผนนี้
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกำลังกาย
สามารถเคลื่อนไหวได้ปกติไม่มีความผิดปกติของข้อต่างๆ
สรุป ไม่พบปัญหาในแบบแผนนี้
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
กลางวันนอน.2.รอบ ครั้งละ 3 ชั่วโมง กลางคืนนอนหลับดี ไม่ตื่นกลางดึก
สรุป ไม่พบปัญหาในแบบแผนนี้
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
ผู้ป่วยตื่นตัวดี ไม่ซึม การได้ยิน การมองเห็น การได้กถิ่น ปกติ
สรุป ไม่พบปัญหาในแบบแผนนี้
แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
ผู้ป่วยนั้นยังไม่สามารถเข้าใจแบบแผนนี้ได้
สรุป ไม่มีปัญหาในแบบแผนนี้
แบบเผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
สมาชิกในครอบควัวมีทั้งหมด 6 คน ได้แก่ ปู่ ย่า บิดา มารดา พี่ชาย และผู้ป่วย มีบิดาเป็นเสาหลักของครอบครัว
สรุป ไม่มีปัญหาในแบบแผนนี้
แบบแผนที่ 9 เพศ และการเจริญพันร์
เพศชาย ไม่พบความผิดปกติใดๆ อวัยวะสืบพันธ์เป็นไปตามวัย
สรุป ไม่มีปัญหาในแบบแผนนี้
แบบแผนที่ 10 การปรับตัวและความทนต่อความเครียด
ผู้ป่วยนั้นดูร่างเริงชอบสังเกตและมีความอยากรู้อยากเห็น
สรุป ไม่มีปัญหาในแบบแผนนี้
แบบแผนที่ 11 คุณค่าและความเชื่อ
ผู้ป่วยนับถือศาสนาพุทธ มารดาของผู้ป่วยนั้นชอบทำบุญและอวยพรให้ผู้ป่วยบ่อยครั้ง ไม่มีความเชื่อที่ไม่ตรงกับการรักษา
สรุป ไม่มีปัญหาในแบบแผนนี้
นายวีรศักดิ์ โคนะโร
210101068