Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กิจกรรมทางกาย ยุคหลังการแพร่ระบาดของเชื่อไวรัสโควิด 19 - Coggle Diagram
กิจกรรมทางกาย ยุคหลังการแพร่ระบาดของเชื่อไวรัสโควิด 19
กิจกรรมทางกาย
หมวดกิจกรรมทางกาย
การเดินทางจากที่หนึ่งไปอีกที่ (Transportation)
เช่นการเดินหรือการปั่นจักรยานเพื่อไปที่ต่าง ๆ เช่นการเดินไปไปทำงาน โรงเรียน
เพื่อนันทนาการ (Leisure)
การออกกำลังกายประเภทต่าง ๆ การทำกิจกรรมยามว่างเพื่อผ่อนคลายจากการทำงาน
การทำงาน (Work-related)
การทำงานต่าง ๆ หรือการทำกิจวัตประจำวันทั่วไป
ประเภทของกิจกรรมทางกาย (Type of physical Activity)
แอโรบิก (Aerobic activity)
การเคลื่อนไหวร่างกายอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ 10 นาที่ขึ้นไป เพื่อเสริมสรา้งความเเข็งเเรงของระบบหายใจ
สร้างความเเข็งแรงขแงกล้ามเนื้อกระดูก และข้อต่อ (Strength activity)
กล้ามเนื่อต้องออกแรงต้านกับน้ำหนักของร่างกาย เช่น สคอวท
ความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ (Flexibility activity)
การยืดกล้ามเนื้อส่วนข้อต่อต่าง ๆ ของร่างกายอย่างช้า ๆ และหยุดค้างไว้
การทรงตัว/การสมดุลร่างกาย
การแระสานงานระหว่างระบบประสาทและกล้ามเนื้อที่ทำให้ร่างกายมีการทรงตัว เช่น การเดินปลายเท้า การยืนขาเดียว
ระดับความหนักของกิจกรรม
ระดับเบา
กิจกรรมที่เคลือนไหวน้อย เช่นการยืน เดินช้า ๆ
ระดับปานกลาง
กิจกรรมที่เคลือนไหวพอสมควรที่ทำให้หัวใจเร็วขึ้นพอควรจากปกติเล็กน้อย (120-150 ครั้งต่อนาที)
ระดับหนัก
กิจกรรมที่เคลื่อนไหวออกแรงอย่างหนัก ทำให้หะวใจเต้นขึ้นอย่างรวดเร็ว หายใจเเรง (มากกว่า150 ครั้งต่อนาที)
ข้อแนะนำในแต่ละช่วงวัย
วัยเด็กเเละวัยรุ่น (5-17ปี)
กิจกรรมทางกายระดับปานกลางถึงหนักสะสมอย่างน้อย 60 นาที่ทุกวัน
วัยผู้ใหญ่ (18-59ปี)
กิจกรรมทางกายระดับปานกลางอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์/ระดับหนักอย่างน้อย 75 นาทีต่อสัปดาห์
วัยสูงอายุ (60ปีขึ้นไป)
กิจกรรมทางกายระดับปานกลางอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์/ระดับหนักอย่างน้อย 75 นาทีต่อสัปดาห์
ประโยชน์ของกิจกรรมทางกาย
สร้างภูมิคุ้มกันโรคและการเจ็บป่วย เสริมสรา้งระบบหัวใจและหลอดเลือด
ลดความเสี่ยงจากโรคในกลุ่ม NCDs
กล้ามเนื้อกระดูก ข้อต่อและระบบการทำงานร่างกายดีขึ้น
ช่วยป้องกัน บรรเทาซึมเศร้า
ควมคุมน้ำหนัด ลดความเสี่ยงโรคอ้วน
ความหมาย
การเคลื่อนไหวร่างกายในอิริยาบทต่าง ๆ ที่ใช้กล้ามเนื้อโครงร่างอันก่อให้เกิดการใช้พลังงานและการเผาผลาญพลังงานของร่างกาย
เด็กติดจอ
อยู่หน้าจอมากเกินไป เกิดอะไรขึ้น
ภาวะโรคอ้วน
ปัญหาการนอนหลับ
โรคติดอินเทอร์เน็ต
ส่งผลเสียต่อผลการเรียน
การกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์
เวลาที่เหมาะสมกับการอยู่กับหน้าจอ
เด็กอายุ 3-5 ปี
ไม่เกิน1 ชั่วโมงต่อวัน
เด็กอายุ 6-10 ปี
ไม่เกิน 1-1.30 ชั่วโมงต่อวัน
เด็กอายุ 11- 13 ปี
ไม่เกิน 2 ชั่วโมงต่อวัน
แนวทางในครอบครัว
หากิจกรรมทางกายทำร่วมกันเป็นประจำ
ใช้คำพูดเสริมแรง ในการพูดคุยอย่างจริงจัง ในเรื่องความเหมาะสมของการใช้หน้าจอ
ร่วมกำหนดเวลาที่ไม่ใช้กน้าจอร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสมดุล
พฤติกรรมการใช้หน้าจอ
ปี 62
เฉลี่ยรวมวันละ 3.18 ชมต่อวัน โดยสูงสุด 17 ชมตาอวัน
ช่วงระหว่างโควิด 19
เฉลี่ยรวม 4.10 ชมต่อวัน โดยสูงสุด19.50 ชมต่อวัน