Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม -…
สรุปพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ของเอกชน
ของรัฐ
องค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการ
สภาการศึกษา
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการอาชีวศึกษา
หมวด ๓ ระบบการศึกษา
การจัดการศึกษา
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาในระบบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียน
สถานพัฒนาปฐมวัย
ศูนย์การเรียน
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัย
สถาบันวิทยาลัย
การศึกษาตามอัธยาศัย
หมวด ๗ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
องค์กรวิชาชีพ (คุรุสภา)
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
วิชาชีพครู
เป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ ในการกำกับของกระทรวง ศธ.
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ
ออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ
กำกับดูแลการปฏิบัติงาน
พัฒนาวิชาชีพ
หมวด ๑ บททั่วไป ความหมายและ
หลักการ
พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก
๒)ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
๑)เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
๓)พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
หมวด ๔
แนวการจัดการศึกษา
เน้นความสําคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการ
รัฐต้องส่งเสริมการดําเนินงานและการจัดต้ังแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
พระราชบัญญัติ
ครู
บุคลากรวิชาชีพทำหน้าที่หลักด้านการเรียนการสอน
และส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
คณาจารย์
บุคลากรทำหน้าที่หลักด้านการสอนและการวิจัย
สถานศึกษา
สถานที่มีอำนาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา
บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต
การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสาน
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาในระบบ
ผู้บริหารการศึกษา
บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอกสถานที่ศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
บุคลากรทางการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา
ผู้สนับสนุนการศึกษา
การศึกษา
กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล
หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่
ทางการศึกษา
บุคคลมีสิทธิและโอกาสในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี
คนพิการตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ จะไม่เสียค่าใช้จ่าย
ความสามารถพิเศษ จัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม
บุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองหรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้วยโอกาส มีสิทธิรับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้ที่จัดให้บุคคลอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
เงินอุดหนุนจากรัฐ
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี
การสนับสนุนจากรัฐ
บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
มีสิทธิ์ในการจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
เงินอุดหนุนจากรัฐ
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี
การสนับสนุนจากรัฐ
หมวด ๖ มาตรฐานและประกันคุณภาพ
การศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพภายใน
ให้ประเมินทุกปี
โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
ให้ประเมินอย่างน้อย ๑ ครั้งในทุก ๕ ปี
นับแต่การประเมินครั้งสุดท้ายและเสนอผลการประเมินต่อสาธารณชน
หมวด ๘ ทัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน
ค่าใช้จ่ายดำเนินการ
เงินอุดหนุน
งบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่น
กองทุนดอกเบี้ยต่ำให้สถานศึกษาเอกชน
ทุนการศึกษาในรูปแบบกองทุนกู้ยืม
กองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษา
งบประมาณทั่วไป
ให้มีการระดมและการลงทุน
ด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สินจากรัฐ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และองค์กรอื่นมาใช้ในการจัดการศึกษา
หมวด ๙ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
พัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิและพัฒนาแบบเรียน
ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิต
และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
จัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐาน
ระดมทุนเพื่อจัดต้องกองทุนพัฒนาเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา