Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท และ อวัยวะรับสัมผัส, image, เช่น, ไม่มีระบบประสาท,…
ระบบประสาท
และ
อวัยวะรับสัมผัส
การรับรูู้และตอบสนอง
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ฟองน้ำ
มีการรับรู้ตอบสนองได้เอง
ไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์
ร่างแหประสาท
nerve net
ไนดาเรีย เช่น
ไฮดรา
พวกแรกที่พบรบบประสาท
กระแสส่งทั่วตัว ไม่แน่นอน ไม่รวดเร็ว
รับรู้และตอบสนอง หดทั้งตัว
ปมประสาท
และเส้นประสาท
หนอนตัวแบน พลาเรีย
เซลล์ประสาทรวมที่หัว
เส้นประสาทยาวตามลำตัวด้านข้าง
มีเส้นประสาทตามขวาง
คล้ายขั้นบันได
ตอบสองบางส่วน
ไส้เดือนดิน
และแมลง กุ้ง
มีปมประาทที่หัว = สมอง
มีเส้นประสาทที่ท้อง หรือปล้องลำัว
ปมประสาทมีเส้นใยประสาทแยกออกมา
หอย
ปมประสาทที่ หัว เท้า อวัยวะภายใน
มีเส้นประสาทเชื่อมที่หัวไปที่เท้าและอวัยวะภายใน
หมึก
มีเส้นประสาทขนาดใหญ่ ดี มีประสิทธภาพ
ดาวทะล
ระบบประสาทวงแหวน กลางลำตัว
มีเส้นประสาทแตกแขนงอกไปตามแนวรัศมี
สัตว์มีกระดูกสันหลังและมนุษย์
ระบบสมองส่วนกลาง
(CNS)
สมอง
เนื้อเยื่อสมอง
เนื้อเยื่อสีเทา :ชั้นนอก มีตัวเซลล์ axonที่ไม่มี myelin
เนื้อเยื่อสีขาว : ชั้นใน มีเส้นใยประสาทที่มีเยื่อ myelin
ส่วนต่างๆของสมอง
ส่วนกลาง
midbrain
Optic lobe
ควบคุมการเคลือนไหวของ นัยน์ตา หัวและลำตัว เพื่อตอบสอง แสงและเสียง
ส่วนหลัง
hindbrain
Medulla 0blongata
ศูนย์กลางของระบบอัตโนมัติ ควบคุมการเต้นของหัวใจ ความดันเลือด หารหายใจ การกลืน สะอึก อาเจียน
Pons
การเคี้ยว การกลืนน้ำลาย การเคลื่อนไหวบนหน้า ควบคุมการหายใจ เป็นทางผ่านของกระแสประสาท
Cerabellum
ประสานการเคลื่อนไหวให้ราบรื่น
ควบคุมการทรงตัว
ส่วนหน้า
forebrain
Cerebrum
ความจำ ความติด เชาว์ปัญญา การรู้ภาษา การพูดอารมณื การรับสัมผัสทั้ง 5 การทำงานของกล้ามเนื้อ
ซีกซ้าย ควบคุมร่างกายด้านขวา และคิดแนว วิทย์ ตรรกะ ภาษา เหตุผล ตัวเลข
ซึกขวา ควบคุมร่างกายฝั่งซ้าย และคิดแนว ศิลป์ ดนตรี ความคิดสร้างสรรค์
แต่ละซีก (ซ่้าย ขวา)
แบ่งเป็น 4 ส่วน
Frontal lope ด้านหน้า
1 more item...
Temporal lope ด้านข้าง
1 more item...
Occipital lope ด้านหลัง
1 more item...
Pariptal lope ด้านบน
1 more item...
Thalamus
ศูนย์รวมประสาท
แยกกระแสประสาทส่งไปยังสมองส่วนต่างๆ
Olfactory bulb
ดมกลิ่น ในมนุษย์มีน้อยมาก
Hypothalamus
ศูนย์กลางของระบบประสาทอัตโนมัติ
ควบคุมสมดุลร่างกาย
-ควบคุมความดันเลือด และการเต้นของหัวใจ
ควบคุมความต้องการพื้นฐานของร่างกาย
สร้างฮอร์โมนประสาท ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ลักษณะทั่วไป
น้ำหนัก 1.4 kg บรรจุในกะโหลก
เป็นเซลล์ประสาท(ประสานงาน) 90% ของร่างกาย
สารเคมีบางชนิดผลต่อสมอง
สารเสพติดและแอลกอฮอล์
กระทบสมองส่วนกลาง ทำให้ง่วงหรือควบคุมอารมณ์ไม่ได้
กระทบการทำงานของ เซรีเบลลัม ทำให้ทรงตัวไม่ได้
-ดื่มแอลกอฮอล์ประจำทำให้เซลล์สมองตายและลดลง ทำให้สมองฝ่อก่อนวัย
โรคอัลไซเมอร์
การเสื่อมของเซลล์ประสาทในสมอง
เนื้อสมองฝ่อเล็กลง น้ำเลี้ยงสมองเพิ่มมาก
สูญเสียความทรงจำและฉลาด
ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ขัด
ไขสันหลัง
spinal cord
เนื้อเยื่อไขสันหลัง
เนื้อสีเทา (gray matter)
ชั้นในมีเซลล์หนาแน่น
เนื้อสีขาว (white matter)
ชั้นนอกมีเส้นใยประสาทที่มี myelin หุ้ม
โครงสร้างไขสันหลัง
เนื้อสีเทา คล้ายตัว H
2 ปีกบนเรียก dorsal horn
2 ปีกล่างเรียก Ventral horn
เส้นประสาทที่แยกออกมา คือ เส้นระสาทไขสันหลัง
รากบน(dorsal root ganglion) มีปมประสาท
รากล่าง (ventral root)
ทิศทางกระแสประสาท
สิ่งเร้า>ผิวหนัง>เส้นประสาทไขสันหลัง >รากบน
<=ไขสันหลัง<=
รากล่าง>เส้นประสาทไขสันหลัง>กล้ามเนื้อ>หดขา
ลักษณะทั่วไป
อยู่ภายในกระดูกสันหลัง
ตั้งแต่ข้อคอแรก ถึง เอวข้อที่สอง
ส่วนปลายเล็กเรียว เหลือแต่ส่วน เส้นประสาทไขสันหลัง spinal nerve
ระบบประสาทรอบนอก
(PNS)
เส้นประสาท
ส่วนสั่งการ
motor division
ระบบประสาทโซมาติก
somatic nervous system
SNS
การทำงาน
ตามลำดับ
1 หน่วยรับความรู้สึก
2 เส้นประสาทไขสันหลัง/สมอง
3 ไขสันหลัง/สมอง
4 เส้นประสาทไขสันหลัง/สมอง
5 หน่วยปฎิบัติงาน(กล้ามเนื้อโครงร่าง)
*
reflex action
บางครั้งการตอบสนองเกิดทันทีไม่ผ่านสมอง
(reflex action) เป็นการสั่งการของไขสันหลัง
การสั่งการ
เกิดกับหน่วยปฎิบัติงานที่บังคับได้ ได้แก่ กล้ามเนื้อโครงร่าง
วงจรประสาท
reflex arc
ตามลำดับ
สิ่งเร้า => 1 หน่วยรับความรู้สึก (อวัยวะต่างๆ) 2 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก 3 เซลล์ประสานงานในไขสันหลัง/สมอง 4 เซลล์ประสาทสั่งการ
5 หน่วยปฎิบัติงาน(กล้ามเนื้อโครงร่าง) => การตอบสนอง
บางครั้ง reflex arc ไม่จำเป็นต้องมีเซลล์ประสาทประสานงาน
ระบบสั่งการอัตโนมัติ
autonomic nervous system
ANS
การสั่งการ
เกิดกับหน่วยปฎิบัติงานที่บังคับไม่ได้ ได้แก่อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
มี 2 ระบบย่อย
การทำงานตรงกันข้ามกัน
Sympathetic
สือ่ประสาท นอร์เอพิเนฟริน NE
กระตุ้นการเต้นของหัวใจ , รูม่านตาขยาย
Parasympathetic
สือ่ประสาท แอซิติลโคลีน Ach
ยับยั้งการเต้นของหัวใจ , รูม่านตาหรี่
การทำงาน
ตามลำดับ
1 หน่วยรับความรู้สึก
2 เส้นประสาทไขสันหลัง/สมอง
3 ไขสันหลัง/สมอง
4 เส้นประสาทไขสันหลัง/สมอง
เซลล์ก่อน , หลัง ไซแนปส์
ปมประสาทอัตโนมัติ
5 หน่วยปฎิบัติงาน
(กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และ ต่อม)
ส่วนรับความรู้สึก
sensory division
จมูกกับการดมกลิ่น
ลิ้นกับการรับรส
หูกับการได้ยิน
ผิวหนังกับการรับความรู้สึก
นัยน์ตาและการมองเห็น
เส้นประสาทสมอง
ไขสันหลัง
สิ่งมีชีวิตเซลล์ดียว
พารามีเซียม
มีเส้นใยประสนงาน
(coordinating fiber)
ควบคุมการโบกพัดของซีเลีย
เพื่อควบุมการเคลือ่นที่
รับรู้ตอบสนองได้
ไม่มีระบบประสาท
เนื้อเยื่อประสาท
เซลล์ประสาท
โครงสร้างเซลล์ประสาท
ตัวเซลล์ (cell body or soma)
ประกอบด้วย -nucles , cytoplsm ,mitochondria,
endoplasmic reiculum , golgi complex
เส้นใยประสาท (nerve fiber or neurite)
เดนไดรต์
(dendrite)
นำกระแสประสาทเข้าเซลล์
แอกซอน
(axon)
นำกระแสประสาทออกเซลล์
axon hilock
รอยต่อตัวเซล กับ axon กำหนดการส่งกระแสประสาทได้
synaptic terminal
ปลายโป่งเป็นกระเปาะ
ส่งสัญญาณประสาทผ่าน synapes ได้
myelin sheath
สาร lipid หุ้ม axon เป็นระยพ
ฉนวนช่วยทำให้กระแสส่งผ่านเร็วขึ้น
Schwann cell
มี myelin เป็นส่วนระกอบ
เป็นส่วนหุ้มใยประสาท
node of Ranver
บริเวณรอยต่อระหว่าง Schwann cell แต่ละเซลล์บนเส้นใยประสาท
บริเวณที่ไม่มี myelin sheath หุ้ม
ชนิดของเซลล์ประสาท
จำแนกตามหน้าที่
สั่งการ
motro neuron
อยู่ในประสาทส่วนกลาง มี axon ยาว ส่งกระแสประสาทออกจากระบบส่วนกลางไปหน่วยปฎิบัติงาน
ประสานงาน
assosiation neuron
มีอยู่ในสมองและไขสันหลัง เชื่อมต่อระหว่าง เซลล์รับความรู้สึก และเซลล์ประสาทสั่งการ
รับความรู้สึก
sensory neuron
รับกระแสจากหน่วยความรู้สึก ส่งไปยังระบบประสาทส่วนกลาง เชื่อมต่อสั่งการ หรือประสานงาน
จำแนกตามรูปร่าง
สองขั้ว
bipolar neuron
มีเส้นแยกออกมา สองเส้น 1 axon 2 dendrite
พบในเซลล์ประสาทรับความรู้สึก เช่น กลิ่น รับเสียง
หลายขั้ว
multipolar neuron
เป็นเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ มีเส้นใยมากมาย เป็นdendrite มาก axon เส้นเดียว พบบริเวณ เซลล์ประสานงาน และ เซลล์ประสาทสั่งการ
ขั้วเดียว
unipolar neuron
มีเส้นใยประสาท 1 เส้น คือ axon
พบในเซลล์ประสาทที่หลังฮอร์โมน
ขั้วเดียวเทียม
pseunipolar neuron
มี axon เส้นเดียวแล้วแตกเป็น 2 เส้น 1 เสันเป็น dendreite รับความรู้สึกแล้ว ส่งกระแสประสาทไม่ผ่านตัวเซลส์
พบในเซลประสาทรับความรู้สึกที่ปมประสาทไขสันหลัง
การทำงานของเซลล์ประสท
การเกิดประแสประสาท
nerve implus
เกิดจาก การเคลื่อนที่ของ ไออน ผ่านเข้าออกเซลล์ประสาท เกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักดิ์ที่เยื่อหุ้มเซลล์
เป็นปฎิกริยาไฟฟ้าเคมี
ขั้นตอนการเกิดกระแสประสาท
1 polarization
เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น เซลล์ประสาทพยายามรักษาความต่างศักย์ประมาณ -70mV 1โดยการใช้ Pump (ATP)
2 depolarlization
เมื่อเซลล์ถูกกระตุ้น ความต่างศักย์เปลี่ยนแปลง เทียบระดับ threshold potential +50mV
เปลี่ยนแปลงถึงจุด threshold potential เกิดกระแสเต็มที่ (จุดเริ่มต้นกระแสประสาท)
ช่อง Na+ เปิดมาก Na+ ไหลเข้าเซลล์
ความต่างศักด์เปลี่ยนจาก -70 เป็น +50 mV
ภายใน +
ภายนอก -
เปลี่ยนแปลงไม่ถึงจุด threshold potential
Na+ K+ pump จะปรับศักย์ให้เกซล์คงเดิม
3 repolarization
เมือ Na+ เข้ามาจนความต่างศักย์ +50 mV
ช่อง Na+ ปิด
ช่อง K+ เปิด
ความต่างศักย์เปลี่ยนจาก +50 เป็น -70 mv
ภายใน -
ภายนอก +
4 hyperpolarization
K+ ไหลจนความต่างศักย์ เป็น -70 mv
ช่อง K+ เปิดต่ออีกระยะ K+ ไหลออกเซลล์
ช่อง K+ ปิด
ความต่างศักย์ลดลงจนต่ำกว่า -70 mv
ปรับเข้าสู่ระยะพักอีกครั้ง
ด้วย pump
เยื่อหุ้มเซลล์ประสาท
โปรตีน
ทำหน้าที่ยอมให้ ion ผ่าน
เปิดตลอดเวลา
เปิดปิด ตาม แรงกล สารเคมี สัญญาณไฟฟ้า
ศักย์เยื่อเซลล์
membrane potential
ความต่างศักย์ของเซลล์ระหว่างภายนอกและภายใน
โครงสร้าง
เป็นฟอสโฟลิพิด 2 ชั้น
มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน
ยอมให้ ion (Na+ K+ Ca2+) ผ่านเข้าออกทางช้องโปรตีนที่แทรกอยู่
การส่งกระแสประสาท
เซลล์ที่มีเยื่อ myelin
เกิดขึ้นต่อเนื่องเรื่อยๆ ด้วยการเหนี่ยวนำ
เมื่อเกิดกระแสที่จุดหนึ่งจะเหนี่ยวนำบริเวณข้างเคียงตามไปด้วย
เมื่อผ่านไปแล้ว จุดนั้นจะกลับสู่สภาวะปกติ
เซลล์ที่ไม่มีเยื่อ myelin
เยื่อ myelin มี lipid เป็นองค์ประกอบ เป็นฉนวน กั้นประจุไฟฟ้าผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เข้าออก เซลล์
กระแสประสาทเคลื่อนจาก node of Ranvier หนึ่ง ไปอีก node of Ranvier หนึง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเร็วการส่ง
ระยะห่างของ node of Ranvier
ห่างมาก , เร็ว
เส้นผ่าศูนย์กลางของ axon
ใหญ่ (ความต้านทานน้อย) , เร็ว
myelin sheath
มี , เร็ว
จำนวน Synapse
มาก , ช้า
ระยะพัก
(สภาวะปกติ)
Na+ - K+ pump
ต้องอาศัยพลังงานจากการสลาย ATP
การรักษาความต่างศักย์
บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์
Na+ และ K+ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
เซลลส์รกัษาความเข้มข้นของ ไออนตอลดเวลา
ส่ง Na+ ออก ดึง K+ ทาง pump
ภายใน -
ภายนอก +
ภาวะเซลล์ไม่ถูกกระตุ้น
ความต่างศักย์ไฟฟ้า (ภายนอก - ภายใน) ประมาณ -70 mV
ปริมาณไอออนของสารละลายภายในและภายนอกเซลล์ต่างกัน
ภายนอกมี Na+ มาก ภายในเซลล์มี K+ และ A+ มาก
Refractory period
ระยะดื้อของเซลล์ประสาทไม่สามารถกระตุ้นได้
เนื่องจาก Na+ และ K+ ยังไม่กลับเข้าที่เดิม
Absolute refractory period
ไม่สามารถกระตุ้นได้ เป็นระยะที่ Na+ channel เปิดอยู่
Relative refractory period
กระตุ้นได้แต่ใช้แรงมากกว่าปกติ เป็นระยะที่ K+ channel เปิดอยู่
การถ่ายทอดกระแสประสาท
ยาที่มีผลบริเวณ synapse
ไม่มีการส่งกระแสประสาท
ยาระงับประสาท , พิษงูบางชนิด
ส่งผลให้เกิดกระแสประสาทมากเกินไป
นิโคติน คาเฟอินและ แอมเฟตามิน กระตุ้น axon ปล่อยสารสื่อสารมากเกินไป
โคเคน ยับยั้งการดูดกลับของสารสื่อประสาท
ยาฆ่าแมลงบางชนิด สลายสารสื่อประสาท ทำให้ถูกกระตุ้นตลอดเวลา
กระเสประสาทเคลื่อนที่ถึง axon terminal
Ca2+ นอกเซลล์เคลื่อนที่เข้า presynatic neuron
กระตุ่นให้ synatic vesicle มารวมที่เยื่อหุ้ม
ปล่อยสารสื่อประสาทออกสู่ symatic cleft
-สารสื่อประสาทเคลื่อนไปจับโปรตีนตัวรับที่เยื่อหุ้มของ postsynaptic neuron
เกิดการเคลื่อนที่ของไออน ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของ postsynaptic neuron
ความต่างศักย์ที่เยื่อหุ้มเซลล์เปลี่ยนแปลง
(depolarlization , hyperpolarization)
หากเปลี่ยนแปลงถึง threshold จะเกิดกระแสต่อไป
หากถูกกระตุ้นสักระยะจะถูกสลายด้วยเอมไซม์ทีเฉพาะ
สารที่ได้จากการสลายอาจนำกลับมาสร้างสื่อสารมลใหม่ หรือถูกกำจัดออกโดยระบบหมุนเวียนเลือด
เซลล์เกลีย
ไมใช่เซลล์ประสาท มีจำนวนมากกว่าเซล์ประสาท 5-10 เท่า มีหลายชนิด หน้าที่ต่างกัน
เช่น ค้ำจุน ลำเลียงของเสียออกจากเซลส์ประสาท รักษาดุลภาพของสารต่างๆ
เช่น
ไม่มีระบบประสาท
มีระบบประสาท
เช่น
แบ่งตามหน้าที่
แบ่งตามตำแหน่ง
นางสาวชนันธร จักราชัย
ม.5/1 เลขที่ 34