Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542, นางสาวมนชญา วิทยะพงศ์ 664186017 …
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
หมวด ๑ ความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา ๘ การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก ดังนี้
(๑) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
(๒) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา ๗ กระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
มาตรา ๖ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลัก ดังนี้
มีเอกภาพด้านนโยบาย
มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง
มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา
มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ
ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา ๑๐. การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่
มาตรา ๑๑ บิดา มารดา ผู้ปกครองได้รับการศึกษาภาคบังคับตามมาตรา ๑๗
มาตรา ๑๒ นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์รวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๑๓ บิดา มารดา มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ ดังต่อไปนี้
การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ในการอบรมเลี้ยงดู
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดหย่อนค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา ๑๔ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ในการอบรมเลี้ยงดู
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดหย่อนค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
หมวด ๓ ระบบการศึกษา
มาตรา ๑๕ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร
การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย
การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ
มาตรา ๑๖ การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปี
การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ำกว่าปริญญา และระดับปริญญา
มาตรา ๑๗ ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซี่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษา
มาตรา ๑๘ การจัดการศึกษาปฐมวัย ดังต่อไปนี้
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
โรงเรียน
ศูนย์การเรียน
มาตรา ๑๙ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย
มาตรา ๒๐ การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ
มาตรา ๒๑ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษาเฉพาะทางตามความต้องการและความชำนาญของหน่วยงานนั้นได้
หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา
มาตรา ๒๒ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการ
ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม
ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกี่ฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา
ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ดำเนินการ ดังต่อไปนี้
จัดเนื้อหาให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด และการแก้ไขปัญหา
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างสมดุลกัน
ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
มาตรา ๒๕ รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
มาตรา ๒๖ ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน
มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลาง เพื่อความเป็นไทย เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิต และการ ประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ
มาตรา ๒๘ หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสำหรับบุคคลตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ ต้องมีลักษณะหลากหลาย
มาตรา ๒๙ ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน
มาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ ๑ การบริหารเเละการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา ๓๑ กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และการอาชีวศึกษา
มาตรา ๓๒ การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลักจำนวนสามองค์กร ได้แก่
สภาการศึกษา
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็น
มาตรา ๓๒/ ๑ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน และกำกับ เพื่อให้การพัฒนาประเทศเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรา ๓๒/๒" การจัดระเบียบราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ กฤษฎีกา นวัตกรรม
มาตรา ๓๓ สภาการศึกษา มีหน้าที่
พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ
พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากร
ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา ให้ความเห็นหรือคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้
การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ ให้เสนอต่อคณะรัฐมนตรี
คณะกรรมการสภาการศึกษา ประกอบด้วย
รัฐมนตรีเป็นประธาน
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
พระภิกษุซึ่งเป็นผู้แทนคณะสงฆ์
ผู้แทนคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ผู้แทนองค์กรศาสนาอื่น
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้เลขาธิการสภาเป็นกรรมการและเลขานุการ
มาตรา ๓๔ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรแกนกลาง
คณะกรรมการการอาชีวศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐาน
มาตรา ๓๕ องค์ประกอบของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๔ ประกอบด้วย กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ให้เลขาธิการของแต่ละสำนักงานเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ
มาตรา ๓๕/๑ ให้มีคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนาและมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ
มาตรา ๓๖ ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล และอาจจัดเป็นส่วนราชการหรือเป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐ
มาตรา ๓๗ การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาคำนึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนสถานศึกษา จำนวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสม
มาตรา ๓๘ ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่ในการกำกับดูแล
มาตรา ๓๙ ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง
มาตรา ๔๐ ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทำหน้าที่กำกับและส่งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบด้วย
ผู้แทนผู้ปกครอง
ผู้แทนครู
ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา
ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นในพื้นที่
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ส่วนที่ ๒ การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๔๑ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับ
มาตรา ๔๒ ให้กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่ในการประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๔๓ การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็นอิสระ
มาตรา ๔๔ ให้สถานศึกษาเอกชน มีคณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย
ผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน
ผู้รับใบอนุญาต
ผู้แทนผู้ปกครอง
ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนครู
ผู้แทนศิษย์เก่า
ผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา ๔๕ ให้สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท
มาตรา ๔๖ รัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อน และสิทธิประโยซน์อย่างอื่น
ส่วนที่ ๓ การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
มาตรา ๔๓ การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็นอิสระ
มาตรา ๔๔ ให้สถานศึกษาเอกชน มีคณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย
ผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน
ผู้รับใบอนุญาต
ผู้แทนผู้ปกครอง
ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนครู
ผู้แทนศิษย์เก่า
ผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา ๔๕ ให้สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท
มาตรา ๔๖ รัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อน และสิทธิประโยซน์อย่างอื่น
หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพ
มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรา ๔๙ ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
มาตรา ๕๐ ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา
มาตรา ๕๑ กรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาไม่ได้ตามให้จัดทำข้อเสนอแนะ การปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หมวด ๗ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๕๑ คำว่า “คณาจารย์” ให้ความหมายว่า บุคลากรซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
มาตรา ๕๒ ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะ
มาตรา ๕๓ ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา
มาตรา ๕๔ ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
มาตรา ๕๕ ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น สําหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๕๖ การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่งและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๕๗ ให้หน่วยงานทางการศึกษาระดับทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยนำประสบการณ์ ความรอบรู้ ความชำนาญ และภูมิปัญญาท้องถิ่นของบุคคลดังกล่าวมาใช้
หมวด ๘ ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา ๕๘ ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ
โดยให้รัฐและองค์กรท้องถิ่นอาจจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาได้ตามความเหมาะสม
ส่วนร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความจำเป็น
มาตรา ๕๙ ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการปกครอง ดูแลบำรุงรักษา และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา
มาตรา ๖๐ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้กับการศึกษา
เงินอุดหนุนทั่วไป
ทุนการศึกษา
งบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่น
ค่าใช้จ่ายดำเนินการและงบลงทุนให้สถานศึกษา
เงินอุดหนุนทั่วไป
กองทุนกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำ
กองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษา
มาตรา ๖๑ รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษา
มาตรา ๖๒ มีระบบการตรวจสอบติดตาม และประเมินประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา
หมวด ๙ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๓ รัฐจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐานอื่น
มาตรา ๖๔ รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและอื่นๆ
มาตรา ๖๕ ให้มีการพัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ทางเทคโนโลยี
มาตรา ๖๖ ผู้เรียนมีสิทธิ์ได้รับการพัฒนาในการใช้เทคโนโลยี
มาตรา ๖๗ ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๘ ให้ทีการระดมทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี
มาตรา ๖๙ ให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่เสนอนโยบาย
เฉพาะกาล
มาตรา ๗๐ บรรดาบทกฎหมาย ยังคงใช้บังคับไปจนกว่ามีการแก้ไข
มาตรา ๗๑ ให้กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานการศึกษา และสถานศึกษา มีฐานะและอำนาจหน้าที่เช่นเดิม
มาตรา ๗๒ ในวาระเริ่มแรก มิให้นําบทบัญญัติ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๑๗ มาใช้บังคับ จนกว่าจะมีการดําเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญัติดังกล่าว ซึ่งต้องไม่เกินห้าปีนับแต่วันที่
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยใช้บังคับ
มาตรา ๗๓ มิให้นำบทบัญญัติในหมวด ๕ และหมวด ๗ มาบังคับใช้จนกว่าจะได้มีการดำเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญัติ
มาตรา ๗๔ ในวาระเริ่มแรกที่การจัดตั้งกระทรวงยังไม่เสร็จ ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๗๕ ให้จัดตั้งสำนักงานปฏิรูปการศึกษา
เสนอการจัดโครงสร้าง
เสนอการจัดระบบครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
เสนอการจัดระบบทรัพยากรและการลงทุนการศึกษา
เสนอแนะเกี่ยวกับการร่างกฎหมาย
เสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
อำนาจหน้าที่อื่น ให้คำนึงถึงความเห็นของประชาชน
มาตรา ๗๖ ให้มีคณะกรรมการการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษา
มาตรา ๗๗ ให้มีกรรมการสรรหาคณะกรรมการการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษา จำนวน ๑๕ คน
ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๕ คน
อธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษา ๒ คน คณบดีคณะครุศาสตร์จำนวน ๓ คน
ผู้แทนสมาคมวิชาการ ๕ คน
มาตรา ๗๘ ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกา
องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่และวาระการดำรงตำแหน่ง
องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม
ทุน รายได้ งบประมาณ และทรัพย์สิน
การบริหารงานบุคคล สวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่น
การกำกับดูแล การตรวจสอบ และการประเมินผลงาน
การยุบเลิก
ข้อกำหนดอื่นๆ
นางสาวมนชญา วิทยะพงศ์ 664186017
นางสาวสกาวพลอย วันศุกร์ 664186020