Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗, ( -…
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗
หมวดที่ 1 คณะกรรมการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” เรียกโดย ย่อว่า “ก.ค.ศ.” ประกอบด้วย
(๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานกรรมการ
(๒) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นรองประธานกรรมการ
(๓) กรรมการโดยตำแหน่งจำนวนแปดคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา
(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนเก้าคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากบุคคลที่มี ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สูงทางด้านการศึกษา ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านกฎหมาย ด้านการบริหารการจัดการภาครัฐ ด้านการบริหารองค์กร ด้านการศึกษาพิเศษ ด้านการบริหารธุรกิจ หรือด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการผลิตและพัฒนาครู และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหรือด้านการบริหาร จัดการความรู้หรือด้านการวิจัยและประเมินผล ด้านละหนึ่งคน
(๕) กรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาซึ่งมาจากการเลือกตั้ง จำนวนสิบสองคน ประกอบด้วย ผู้แทนผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาฝ่ายละหนึ่งคน
มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ตํ่ากว่าสามสิบห้าปีบริบูรณ์ และไม่เกินเจ็ดสิบปีบริบูรณ์
(๓) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๔) ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
(๕) ไม่เป็นเจ้าหน้าที่ ที่ปรึกษา หรือผู้มีตำแหน่งบริหารในพรรคการเมือง
(๖) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความชื่อสัตย์ ความยุติธรรม และไม่เคยมีประวัติ เสือมเสีย
มาตรา ๙ กรรมการผู้แทนผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต้องมี คุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และไม่เคยถูกพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพมาก่อน
(๒) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความชื่อสัตย์ ความยุติธรรม และไม่เคยมีประวัติ เสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณ และการประกอบอาชีพ
มาตรา ๑๐ กรรมการผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้บริหารสถานศึกษาที่เรียกชื่อ อย่างอื่นในหน่วยงานการศึกษา ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) มีใบอนุญาติประกอบวิชาชีพ และไม่เคยถูกพักใช้หรือเพิกถอนใบอบุญาต ประกอบวิชาชีพมาก่อน
(๒) มีประสบการณ์ด้านการบริหารในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้บริหาร สถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นในหน่วยงานการศึกษาเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปี
(๓) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความชื่อสัตย์ ความยุติธรรม และไม่เคยมีประวัติ เสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณ และการประกอบอาชีพ
มาตรา ๑๑ กรรมการผู้แทนข้าราชการครูต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และไม่เคยถูกพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต ประกอบวิขาชีพมาก่อน
(๒) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนในวิทยฐานะไม่ตํ่ากว่าครูชำนาญการหรือ เทียบเท่าหรือมีประสบการณ์การสอนเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้าปี
(๓) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความชื่อสัตย์ ความยุติธรรม และไม่เคยมีประวัติ เสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณ และการประกอบอาชีพ
มาตรา ๑๒ กรรมการผู้แทนบุคลากรทางการศึกษาอื่นต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่าดับปริญญาตรี
(๒) มีประสบการณ์ด้านสนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทำหน้าที่ให้บริการ
(๓) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความชื่อสัตย์ ความยุติธรรม และไม่เคยมีประวัติ เสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณ และการประกอบอาชีพ
มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษามีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งหรือเลือกตั้งใหม่ได้อีก แต่จะ ดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินกว่าสองวาระมิได้
มาตรา ๑๔ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก ตำแหน่ง เมือ
(๑) ตาย
(๒) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ
(๓) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๔) เป็นคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๔) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘
(๗) คณะรัฐมนตรีมีมดิให้ออก
มาตรา ๑๕ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้แทนข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ
(๓)พ้น,รกกา,เชนข้าราชกา,ค5และชุคลาสรหาง๓รส™า
(๔) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ หรือมาตรา ๑๒
(๕) ถูกถอดถอนโดยรัฐมนตรีตามมติของ ก.ค.ศ. ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสาม ของจำนวนกรรมการทั้งหมด
(๑) ตาย
(๖)๕ มิได้เป็นผู้ดำรงตำแหน่งหรือเป็นผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามที่ตนได้รับเสือก
มาตรา ๑๖ การประชุม ก.ค.ศ. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๗ ก.ค.ศ. มีอำนาจตั้งคณะอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.ค.ศ. วิสามัญ” เพื่อทำการใด ๆ แทน ก.ค.ศ. หรือทำหน้าที่เข่นเดียวกับคณะอนุกรรมการอื่นที่กำหนด
มาตรา ๑๘๖ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจะ เป็นกรรมการใน ก.ค.ศ. อนุกรรมการใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา ๑๙ ให้ ก.ค.ศ. มีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายการผลิตและการ บริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้
(๓) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีในกรณีที่ค่าครองชีพเปลี่ยนแปลง ไปมาก หรือการจัดสวัสดิการหรือประโยชน์เกื้อกูลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๔) ออกกฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการ บริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กฎ ก.ค.ศ. เมื่อได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจาบุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้
(๕) พิจารณาวินิจฉัยดีความปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ เฐ่อ ด.ค.ศ. มํนตํเข้นปวะกาวใดแล้วให้หน่วยงานกา,สกนาปฏํ®ตานงร้น
(๖) พัฒนาหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานการบริหารงานบุคคล รวมทั้งการ พิทักษ์ระบบคุณธรรมของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๗) กำหนดวิธีการและเงื่อนไขการจ้างเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ในตำแหน่งครูและบุคลากรทางการศึกษาในหน่วยงานการศึกษา รวมทั้งกำหนดอัตราเงินเดือนหรือ ค่าตอบแทน
(๘) ส่งเสริม สนับสบุนการพัฒนา การเสริมสร้างขวัญกำลังใจ และการยกย่องเชิดชู เกียรติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๙) ส่งเสริม สนับสบุนให้มีการจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่นแก่ ช้า,าชดาวด5แดะบุดคาด,หางดาวสดนา
(๑๐) พิจารณาตั้ง อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา และคณะอนุกรรมการอื่นเพื่อปฏิบัติ หน้าที่ตามที่ ก.ค.ศ. มอบหมาย
(๑๑) ส่งเสริม สนับสบุน ประสานงาน ให้คำปรึกษา แนะนำและชีแจงด้านการ บริหารงานบุคคลแก่หน่วยงานการศึกษา
(๑๒) กำหนดมาตรฐาน พิจารณา และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ตามที่กำหนดไวิในพระราชบัญญัตินี้
(๑๓) กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารงานบุคคลของ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อรักษาความเป็นธรรมและมาตรฐานด้านการบริหารงาน
(๑๔)๗ ในกรณีที่ปรากฏว่าส่วนราชการ หน่วยงานการศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา
(๑๕) พิจารณารับรองคุณวุฒิของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือ คุณวุฒิอย่างอื่นเพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และการกำหนดอัตราเงินเดือนหรือค่าตอบแทนที่ควรได้รับ
(๑๖) กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในเรื่องการปฏิบัติการต่าง ๆ ตามที่กำหนดใน พระราชบัญญัตินี้
(๑๗) พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแกไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปีเ™ และควบคุมการเกบียณอายุชองข้าราชกาวค5และบุคลากวทางการสุกบา
(๑๘) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายอื่น
มาตรา ๒๐ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกโดยย่อว่า “สำนักงาน ก.ค.ศ.”
(๑) เป็นเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินงานในหน้าที่ของ ก.ค.ศ.
(๒) วิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาและการจัดระบบบริหารราชการในหน่วยงานการศึกษา
(๓) ศึกบา วิเควาะห์เกิยวกับมาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีการบวิหาวงานบุคคลชอง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๔) พัฒนาระบบข้อมูล และจัดทำแผนกำลังคนสำหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา
(๕) ศึกษา วิเคราะห์ เสนอแนะนโยบาย ประสานงานและดำเนินการเกี่ยวกับการ พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๖) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และบริหารเงินทุน ตลอดจนสวัสดิการข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา
(๗) กำกับ ติดตาม และตรวจสอบการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ของ หน่วยงานการศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา
(๘) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาเสนอ ก.ค.ศ.
(๙) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่ ก.ค.ศ. มอบหมาย
มาตรา ๒๑๘ (ยกเลิก)
มาตรา ๒๒๙ การประชุมของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ให้นำความในมาตรา ๑๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๓ ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) พิจารณากำหนดนโยบายการบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งการกำหนดจำนวนและอัตราตำแหน่งและเกลี่ย อัตรากำลังให้สอดคล้องกับนโยบาย การบริหารงานบุคคล ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ.
(๑๐) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่ ก.ค.ศ. มอบหมาย
(๒)พิจาวณาให้ควานเห็นชอบกาวบรวจุและแต่งด้งช้าราชกาวค1และบุคลากว ทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(๓) ให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการพิจารณาความดีความชอบของผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา และข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(๔) พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องการดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ตามที่กำหนดไวิในพระราชบัญญัตินี้
(๕) ส่งเสริม สนับสบุนการพัฒนา การเสริมสร้างขวัญกำลังใจ การปกป้องคุ้มครอง ระบบคุณธรรม การจัดสวัสดิการ และการยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใ™น่วยงานคาวสกบาชองเชตล้นห็กา,สกบา
(๖) กำกับ ดูแล ติดตามและประเมินผลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและ บุคลาก,ทางการสกบาในหน่วยงานการสกบาในเชคส์นพิกาวสกบา
(๗) จัดทำและพัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน หน่วยงานการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(๘) จัดทำรายงานประจำปีที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาเพื่อเสนอ ก.ค.ศ.
(๙) พิจารณาให้ความเห็นชอบเรื่องการบริหารงานบุคคลในเขตพื้นที่การศึกษาที่ไม่อยู่ ในอำนาจและหน้าที่ของผู้บริหารของหน่วยงานการศึกษา
มาตรา ๒๔ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้บริหารราชการ ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในเขตพื้นที่การศึกษา และมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) รับผิดชอบในการปฏิบัติงานราชการที่เป็นอำนาจและหน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ. เขต พื้นที่การศึกษาและตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามอบหมาย
(๒) เสนอแนะการบรรจุและแต่งตั้ง และการบริหารงานบุคคลในเรื่องอื่นที่อยู่ใน อำนาจและหน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
(๓) พิจารณาเสนอความดีความชอบของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ในหน่วยงานการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา และข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(๔) จัดทำแผนและส่งเสริมการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในหน่วยงานการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(๕) วัคทำทะเบียนประวัติข้าราชการค5และบุคลากรทางการสกปาในเขตนี้นส่ การศึกษา
(๖) จัดทำมาตรฐานคุณภาพงาน กำหนดภาระงานขั้นตั้า และเกณฑ์การประเมินผลงาน สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(๗) ประเมินคุณภาพการบริหารงานบุคคลและจัดทำรายงานการบริหารงานบุคคล เสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาเพื่อเสนอ ก.ค.ศ. ต่อไป
(๘) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่ ก.ค.ศ. มอบหมาย
นางสาวขวัญดาว เส็นฤทธิ์ 153
นางสาวฝ่าหลี่ด๊ะ แซ่ลิ้ม 161 นางสาวอาริยา สุหลี 177
มาตรา ๒๔ ในส่วนราชการอื่นนอกจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ ก.ค.ศ. ตั้ง อ.ก.ค.ศ. เพื่อทำหน้าที่บริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในส่วนราชการนั้น ทั้งนี้ การตั้ง การพ้นจากตำแหน่งและขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
มาตรา ๒๖ ให้คณะกรรมการสถานศึกษา มีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงาน บุคคลสำหวับข้าราชการค2และบุคลากรทางการสกปาในสถานสกปา ดังต่อไปนี้
(๑) กำกับ ดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษากำหนด
(๒) เสนอความต้องการจำนวนและอัตราตำแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาในสถานศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา
(๓) ไห้ข้อคํคเห็นเกียวกันลา,นรทา,งานบุคคลของข้ารา,ลา,ค1และบุคลาก, ทางการศึกษาในสถานศึกษาต่อผู้บริหารสถานศึกษา
(๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไวิในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามอบหมาย
มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา และมีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) ควบคุม ดูแลให้การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสอดคล้องกับนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษากำหนด
(๒) พิจารณาเสนอความดีความชอบของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในลลานสกนา
(๓) ส่งเสริม สนับสบุนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาให้มี การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
(๔) จัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษา
(๔) ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
(๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไวิในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่นหรือตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือคณะกรรมการสถานศึกษามอบหมาย
มาตรา ๒๘ ให้ผู้บริหารหน่วยงานการศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด เป็นผู้บังคับบัญชาและบริหารหน่วยงาน และให้นำมาตรา ๒๗ มาใช้บังคับแก่ผู้ดำรงตำแหน่ง ดังกล่าวโดยอนุโลม
หมวด ๒
บททั่วไป
มาตรา ๒๙ การดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี โดยยึดถือระบบคุณธรรม ความเสมอภาคระหว่างบุคคล และหลักการได้รับการ ปฎํ®และกา,คุ้มค,องสิทธิอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน
มาตราที่ืืื ๓๐ ภายใต้บังคับภฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาสำหรับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ตํ่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
(๓) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(๔) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น
(๕) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ หรือจิตฟ้นเฟ้อนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่ กำหนดในกฎ ก.ค.ศ.
(๖) ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการ ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตาม พระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น หรือถูกสั่งพัก หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมายองค์กรวิชาชีพนั้น ๆ
(๗) ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีสำหรับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครูและ บุคลากรทางการศึกษา
(๘) ไม่เป็นกรรมการบริหารพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๙) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
(๑๐) ไม่เป็นผู้เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษ สำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๑๑) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ องค์การ มหาชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือองค์การระหว่างประเทศ
(๑๒) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกเพราะกระทำผิดวินัยตาม พระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
(๑๓) ไม่เป็นผู้เคยกระทำการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการหรือเข้าปฏิบัติงาน ในหน่วยงานของรัฐ
มาตรา ๓๑ อัตราเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำ ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการออมทรัพย์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา คณะรัฐมนตรีอาจวางระเบียบและวิธีการให้กระทรวงการคลังหักเงินเดือนของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นเงินสะสมก็ได้ โดยคิดดอกเบี้ยเงินสะสมนั้นให้ในอัตราไม่ตากว่า ดอกเบี้ยเงินฝากประจำของธนาคารพาณิชย์
มาตรา ๓๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอาจได้รับเงินเพิ่มสำหรับ ตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. กำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๓๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพ ชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจ ทั้งบี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
มาตรา ๓๕ วันเวลาทำงาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจำปี และการลาหยุดราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ในกรณี ก.ค.ศ. ยังมิได้กำหนด ให้นำหลักเกณฑ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวที่ใช้กับข้าราชการพลเรือน มาใชบังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๓๖ เครื่องแบบของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและระเบียบ การแต่งเครื่องแบบให้เป็นไปตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น
มาตรา ๓๗ บำเหน็จบำนาญข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น
หมวดที่ ๓ การกำหนดตำแหน่งวิทยฐานะ และการให้ใด้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่ง
มาตรา ๓๘ ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามี ๓ ประเภท ดังนี้
ก. ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา
(๑) ครูผู้ช่วย
(๒) ครู
(๓) อาจารย์
๔’ ศาสตราจารย์
(๕) รองศาสตราจารย์
(๖) ศาสตราจารย์
ข. ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
(๑) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
(๖)ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษา
(๓) รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(๔)ผู้อำนวยกาวสำนักงานเขตที่นที่การศึกษา
(๕) ตำแหน่งที่เรียกขื่ออย่างอื่นตานที่ ก.ค.ค. กำหนด
(๒ ผู้อำหน่วยการสถานศึกษา)
ค. ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น
(๑) ศึกษานิเทศก็
(๒) ตำแหน่งที่เรียกขื่ออย่างอื่นตานที่ ก.ค.ค. กำหนด
มาตรา ๓๙ ให้ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาดังต่อไปนี้ เป็น ตำแหน่งที่นีรีหยรุานะได้แก่
ก. ตำแหน่งครู มีวิทยฐานะ ดังต่อไปนี้
(๑) ครูชำนาญการ
(๒) ครูชำนาญการพิเศษ
(๓) ครูเซียวชาญ
(๔) ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
ค. ตำแหน่งผู้บริหารการศึกษา มีวิทยฐานะ ดังต่อไปนี้
(๑) รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชำนาญการพิเศษ
(๒)รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตล้นส่๓รสกษาเชี่ยวชาญ
(๓) ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ
(๔) ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญพิเศษ
ข. ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา มีวิทยฐานะ ดังต่อไปนี้
(๑) รองผู้อำนวยการชำนาญการ
(๒) รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
(๓) รองผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ
(๔) ผู้อำนวยการชำนาญการ
(๔) ผ้อำนวยการชำนาญการพิเศษ น่
(๖) ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ
(๗) ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญพิเศษ
ง. ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ มีวิทยฐานะ ดังต่อไปนี้
(๑) ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ
(๒) ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ
(๓) ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
(๔) ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญพิเศษ
จ. ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดให้มีวิทยฐานะ
มาตรา ๔๐ ให้ตำแหน่งคณาจารย์ดังต่อไปนี้ เป็นตำแหน่งทางวิชาการ
(ก) อาจารย์
(ข) ผู้ช่วยศาสตราจารย์
(ค) รองศาสตราจารย์
(ง) ศาสตราจารย์
มาตรา ๔๑ ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จะมีในหน่วยงาน การศึกษาใดจำนวนเท่าใด และต้องใช้คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งอย่างใด ให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนต
มาตรา ๔๒ ให้ ก.ค.ศ. จัดทำมาตรฐานตำแหน่ง มาตรฐานวิทยฐานะและมาตรฐาน ตำแหน่งทางวิชาการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไว้เป็นบรรทัดฐานทุกตำแหน่ง ทุกวิทยฐานะเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน
มาตรา ๔๓ ให้ ก.ค.ศ. หรือผู้ที่ ก.ค.ศ. มอบหมายตรวจสอบการกำหนดตำแหน่ง และการใช้ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสม
มาตรา ๔๔ ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่ง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
หมวด 4
การบรรจุและการแต่งตั้ง
มาตรา 45 การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใด
มาตรา 46 ผู้สมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ต้องมีคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา 30 และต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ
มาตรา 47 ให้ อ.ก.ค.ศ เขตพื้นที่เป็นผู้ดำเนินการสอบและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ
มาตรา 48 อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานการศึกษาอาจรับสมัคร
สอบแข่งขันเฉพาะบุคคลที่มีคุณสมบัติพิเศษในสาขาวิชาใดได้ ทั้งนี้ ผู้สมัครสอบแข่งขันต้องมี
คุณสมบัติพิเศษในสาขาวิชานั้น ๆ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด
มาตรา 49 ผู้ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการตามมาตรา หากภายหลังขาดคุณสมบัติทั่วไป ผู้มีมาตรา 53 สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการโดยพลันแต่ไม่กระทบถึงการใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปตามอำนาจและหน้าที่และการรับเงินเดือนหรือผลประโยชน์อื่นใด
มาตรา 50 ในกรณีที่มีความจำเป็นหรือมีเหตุพิเศษที่อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ไมาสามารถดำเนินการสอบแข่งขันได้หรือการสอบอาจทำให้ไม่ได้บุคลตามประสงค์ของทางราชการ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่อาจคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีอื่นได้
มาตรา 51 หน่วยการศึกษาใดมีเหตุหรือจำเป็นจะต้องบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ให้หน่วยงานการศึกษาขอความเห็นชอบจาก อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ก่อนแล้วให้ขออนุมัติจาก ก.ค.ศ พิจารณาอนุมัติให้สั่งบรรจุและแต่งตั้งผู้มีอำนาจมาตรา 53 แต่งตั้งและบรรจุได้ตามหลักเกณฑ์
มาตรา 52 นอกจากบรรจุและแต่งตั้งให้บุคคลเข้ารับราชการแล้ว ก.ค.ศ. อาจกำหนดให้ตำแหน่งข้าราชการ บางตำแหน่งเป็นสัญญาจ้างปฏิบัติงานรายปีหรือพนักงานราชการโดยไม่ต้องเป็นข้าราชการก็ได้
มาตรา 53 การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครู ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งมีดังต่อไปนี้
1.การบรรจุและแต่งตั้งตําแหน่งซึ่งมีวิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ ให้ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของส่วนราชการที่ผู้นั้นสังกัดเป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ
2.การบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตําแหน่งรองผู้อำนวยการเขตพื้นที่ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญและตำแหน่งผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ โดยอนุมัติ ก.ค.ศ.
3.การบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ ตำแหนงบุคลกรทางการศึกษาอื่น ซึ่งมีวิทยฐานะชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ
4.การบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งครูผู้ช่วย ครู บุคลากรทางการศึกษาอื่น ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาเป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ
5.การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอื่นมิได้อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษา ให้ผู้บัญชาการสูงสุดของส่วนราชการที่ผู้นั้นสังกัดเป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ
6.การบรรจุและแต่งตั้งตําแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษามาใช้บังคับโดยอนุโลมโดยให้สภาสถาบันอุดมศึกษาทําหน้าที่แทน ก.ค.ศ. หรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง แล้วแต่กรณี เว้นแต่ ก.ค.ศ. จะกําหนดไว้เป็นอย่างอื่น
มาตรา 54 การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะใดและการ
เลื่อนเป็นวิทยฐานะใดต้องเป็นไปตามมาตรฐานวิทยฐานะ ซึ่งผ่านการประเมิน
ให้คำนึงถึงความประพฤติด้าววินัย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชา ประสบการณ์ คุณภาพการปฏิบัติงาน ความชํานาญ ความเชี่ยวชาญ ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านการเรียนการสอน
มาตรา 55 ให้มีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะสำหรับตำแหน่งที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเป็นระยะๆ เพื่อดำรงไว้เพื่อความรู้ ความสามารถ ความชำนาญ หรือความเชี่ยวในตำแหน่งและวิทยฐานะที่ได้นับการบรรจุและแต่งตั้ง
การณีที่ไม่ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ กำหนดให้ดำเนินการตามความเกมาะสม ดังนี้
1.ให้มีการพัฒนาข้าราชการผู้นั้นให้สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.ให้ดําเนินการในมาตรการเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาหรืองดเงินประจําตําแหน่ง หรือเงินวิทยฐานะ
3.ในกรณีที่ผู้ใดไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในระดับที่กําหนด ให้ผู้มีอํานาจตามมาตรา 53 สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการตามมาตรา 10
มาตรา 56 ผู้ใดได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้เข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ตามมาตรา 45 ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการในตำแหน่งนั้น แต่ถ้าได้บรรจุและแต่งตั้งในตำแหน่งครูผู้ช่วยให้ผู้นั้นพัฒนาและเตรียมความพร้อมเป็นระยะเวลาสองปีก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งครู
มาตรา 57การเปลี่ยนตําแหน่ง การย้ายและการโอนของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กําหนดข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามกฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้นั้นอาจถูกเปลี่ยนตำแหน่งหรือย้าย เว้นแต่ถูกพักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ
มาตรา 58 การโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นที่มิใช่พนักงานวิสามัญ และการโอนข้าราชการอื่นที่มิใช่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และมิใช่ข้าราชการทางการเมือง มาบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูครูและบุคลากรทางการศึกษาอาจทําได้หากบุคคลนั้นสมัครใจจะบรรจุและแต่งตั้งให้มีตําแหน่งใด วิทยฐานะใด แต่เงินเดือนที่แต่เงินเดือนที่
มาตรา 59 การย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดไปดํารงตําแหน่งในหน่วยงานการศึกษาอื่นภายในส่วนราชการหรือภายในเขตพื้นที่การศึกษาหรือต่างเขตพื้นที่
การศึกษาต้องได้รับอนุมัติจาก อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาในหน่วยงานการศึกษาอื่นภายในส่วนราชการหรือภายในเขตพื้นที่การศึกษาของผู้ประสงค์
ย้ายและผู้รับย้าย แล้วแต่กรณี และให้สถานศึกษาโดยคณะกรรมการสถานศึกษาเสนอความเห็นให้ผู้มีอํานาจตาม
มาตรา 53 สั่งบรรจุและแต่งตั้งผู้นั้นต่อไป
มาตรา 60 ภายใต้บังคับตามมาตรา 57 และมาตรา 59 ให้ ก.ค.ศ. ดําเนินการให้มีการสับเปลี่ยนหน้าที่หรือย้ายข้าราชการครู ซึ่งดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา หรือตำแหน่งที่มีหน้าที่บริหาร โดยยึดหลักให้อยู่ในการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งใดได้ไม่เกินสี่ปี เว้นแต่มีเหตุผลและมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อในคราวเดียวกันครั้งละหนึ่งปีแต่ไม่เกินหกปี
มาตรา 61 การเลื่อนตําแหน่งบุคลากรทางการศึกษาซึ่งเป็นตําแหน่งที่มิได้กําหนดให้มีวิทยฐานะเพื่อให้ได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงขึ้น ให้กระทําได้โดยการสอบแข่งขันสอบคัดเลือก คัดเลือก หรือประเมินด้วยวิธีการอื่น
มาตรา 62 การแต่งตั้งบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรา 61 สําหรับผู้สอบแข่งขันได้ให้แต่งตั้งตามลําดับที่ในบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ สําหรับผู้สอบคัดเลือกได้หรือผู้ได้รับคัดเลือกให้แต่งตั้งได้ตามความเหมาะสม
มาตรา 63 ข้าราชการคณุและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดได้รับการแต่งตั้ง ให้เลื่อนตำแหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยไม่เข้าเกณฑ์มาตรฐานตำแหน่งหรือมาตรฐานวิทยฐานะไม่ผ่านกระบวนการเลื่อนตําแหน่งหรือกระบวนการเลื่อนวิทยฐานะตามกฎหมาย หรือผู้สั่งสั่งไม่ถูกต้องหรือไม่มีอํานาจสั่ง สั่งให้ผู้นั้นกลับไปดํารงตําแหน่ง
หรือวิทยฐานะเดิมโดยพลัน
มาตรา 64 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดออกจากราชการไปแล้วและมิใช่เป็นการออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการถ้าสมัครเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและทางราชการประสงค์จะรับผู้นั้นเข้ารับราชการ
มาตรา 65 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ออกจากราชการไปปฏิบัติงานใดและให้นับเวลาระหว่างนั้นสําหรับคํานวณบําเหน็จบํานาญเหมือนเป็นเวลาราชการตามกฎหมาย ถ้าผู้นั้นกลับเข้ารับราชการภายในกําหนดเวลาที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติแต่ไม่เกินสี่ปีนับแต่วันไปปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 53 สั่งบรรจุและแต่งตั้งผู้นั้นเป็นข้าราชการครู โดยให้มีตำแหน่ง วิทยฐานะและรับเงินเดือนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก.ค.ศ. กําหนด
มาตรา 66 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่งให้ออกจากราชการเพื่อไปรับราชการทหาร เมื่อผู้นั้นพ้นจากราชหการทหาร หากประสงค์จะเข้ารับราชการในหน่วยงานการศึกษาเดิมให้ยื่นขอกลับเข้าในกำหนดร้อยแปดสิบวันและให้ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการ
มาตรา 67 พนักงานส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคล ส่วนท้องถิ่นที่ไม่ใช่พนักงานวิสามัญ ผู้ใดออกจากราชการไปแล้ว ถ้าสมัครเข้ารับราชการหรือหน่วยงานประสงค์รับผู้นั้นเข้ารับราชการให้ผู้มีอำนาจที่ประสงค์รับเสนอเรื่อง ให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
มาตรา 68 ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการถ้าตําแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตําแหน่งใดว่างลงให้ผู้มีอํานาจตามมาตรา 53 สั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไปรักษาการในตําแหน่งนั้นได้
มาตรา 69 ในกรณีที่มีความจําเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการก.ค.ศ. อาจเสนอแนะต่อหัวหน้าส่วนราชการ ให้สั่งให้ข้าราชการผู้ใดไปปฏิบัติราชการในหน่วยงานการศึกษาใดเป็นการชั่วคราวได้
มาตรา 70 ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเป็นหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอํานาจสั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจําส่วนราชการโดยให้พ้นจากตําแหน่งหน้าที่เดิมได้
มาตรา 71 ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเป็นหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอํานาจสั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาพ้นจากตําแหน่งหน้าที่และขาดจากอัตราเงินเดือนในตําแหน่งเดิมโดยให้ได้รับเงินเดือนในอัตรากําลังทดแทนที่ ก.ค.ศ. กำหนด
หมวด ๖
วินัยและการรักษาวินัย
มาตรา ๘๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาวินัยที่บัญญัติเป็นข้อห้ามและข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ
มาตรา ๘๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ด้วยความบริสุทธิ์ใจและมีหน้าที่วางรากฐานให้เกิดระบอบการปกครองเช่นว่านั้น
มาตรา ๘๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เสมอภาค และเที่ยงธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมั่นเพียร ดูแลเอาใจใส่
รักษาประโยชน์ของทางราชการ
มาตรา ๘๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ให้เป็นไปตามมกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาลโดยถือประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน
มาตรา ๘๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามคำสั่งของ
ผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ
มาตรา ๘๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องตรงต่อเวลา อุทิศเวลา
ของตนให้แก่ทางราชการและผู้เรียน จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรมิได้
มาตรา ๘๘ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ชุมชน สังคม มีความสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้เรียนและ
ระหว่างข้าราชการด้วยกัน
มาตรา ๘๙ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหา
หรือร้องเรียนผู้อื่นโดยปราศจากความเป็นจริง
มาตรา ๙๐ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทำการหรือยอม
ให้ผู้อื่นกระทำการหาประโยชน์อันอาจทำให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรมหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน
มาตรา ๙๑ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่คัดลอกหรือลอกเลียน
ผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยมิชอบ หรือนำเอาผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
มาตรา ๙๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ
หรือผู้จัดการ หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันนั้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
มาตรา ๙๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องวางตนเป็นกลางทางการ
เมืองในการปฏิบัติหน้าที
มาตรา ๙๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาชื่อเสียงของตนและรักษาเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย โดยไม่กระทำการใด ๆ อันได้ชื่อว่า
เป็นผู้ประพฤติชัว
มาตรา ๙๕ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัย และดำเนินการทางวินัยแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
ซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย
มาตรา ๙๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนข้อห้ามหรือไม่ปฏิบัตตามข้อปฏิบัติทางวินัยตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ ผู้นั้นเป็นผู้กระทำผิดวินัย จักต้องได้รับโทษทางวินัย
เว้นแต่มีเหตุอันควรงดโทษตามที่บัญญัติไว้ในหมวด ๗
โทษทางวินัยมี ๕ สถาน คือ
(๑) ภาคทัณฑ์
(๒) ตัดเงินเดือน
(๓) ลดเงินเดือน
(๔) ปลดออก
(๕) ไล่ออก
มาตรา ๙๗ การลงโทษข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ทำเป็นคำสั่ง
วิธีการออกคำสั่งเกี่ยวกับการลงโทษให้เป็นไปตามระเบียบของ ก.ค.ศ. ผู้สั่งลงโทษต้องสั่งลงโทษให้เหมาะสมกับความผิดและมิให้เป็นไปโดยพยาบาท
หมวด ๗
การดำเนินการทางวินัย
มาตรา ๙๘ การดำเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย ให้ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
เพื่อดำเนินการสอบสวนให้ได้ความจริงและความยุติธรรมโดยมิชักช้า
มาตรา ๙๙ เมื่อได้ดำเนินการสอบสวนผู้ถูกกล่าวหาตามมาตรา ๙๘ แล้ว ถ้าฟังได้ว่า
ผู้ถูกกล่าวหามิได้กระทำผิดวินัย ให้สั่งยุติเรื่อง ถ้าฟังได้ว่ากระทำผิดวินัยให้ดำเนินการตามมาตรา ๑๐๐
มาตรา ๑๐๐ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรงให้ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิด
(๑) สำหรับตำแหน่งอธิการบดี ตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตำแหน่งซึ่งมีวิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ
(๒) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษานอกจาก (๑) ให้เสนอ อ.ก.ค.ศ.
เขตพื้นที่การศึกษาของผู้ถูกกล่าวหาพิจารณา
มาตรา ๑๐๑ ให้กรรมการสอบสวนเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
(๑) เรียกให้กระทรวง ทบวง กรม หน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ
(๒) เรียกผู้ถูกกล่าวหาหรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจง หรือให้ถ้อยคำ หรือให้ส่งเอกสาร
และหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องที่สอบสวน
มาตรา ๑๐๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดซึ่งออกจากราชการ
อันมิใช่เพราะเหตุตาย มีกรณีถูกกล่าวหาเป็นหนังสือก่อนออกจากราชการว่า ขณะรับราชการได้
กระทำหรือละเว้นกระทำการใดอันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ถ้าเป็นการกล่าวหาต่อ
มาตรา ๑๐๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่า
กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูกตั้งคณะกรรมการสอบสวน
มาตรา ๑๐๔ เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการทางวินัยหรือดำเนินการสอบสวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใด หรือสั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาออก
จากราชการไปแล้ว ให้ดำเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑)การรายงานการดำเนินการทางวินัยไม่ร้ายแรงของผู้บังคับบัญชาตั้งแต่หัวหน้า
ส่วนราชการหรือผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลงมา
(๒)การรายงานการดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงของผู้บังคับบัญชาตั้งแต่
หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลงมา
มาตรา ๑๐๕ เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการทางวินัย หรือสั่งให้ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาออกจากราชการในเรื่องใดไปแล้ว ถ้า ก.ค.ศ. พิจารณาเห็นเป็นการสมควรให้สอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติมเพื่อประโยชน์แห่งความเป็นธรรม
มาตรา ๑๐๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาซึ่งโอนมาจากพนักงานส่วน
ท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
หมวด ๙
การอุทธรณ์และการร้องทุกข์
มาตรา ๑๒๑ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่งลงโทษภาคทัณฑ์
ตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือน ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้งหรือ ก.ค.ศ. แล้วแต่กรณี ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
มาตรา ๑๒๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่งลงโทษปลดออก
ไล่ออก หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ ให้มีสิทธิอุทธรณ์หรือร้องทุกข์ แล้วแต่กรณี ต่อ ก.ค.ศ. ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง และให้ ก.ค.ศ. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวัน
มาตรา ๑๒๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือมีความคับข้องใจเนื่องจากการกระทำของผู้บังคับบัญชาหรือการแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนทางวินัย ให้ผู้นั้นมีสิทธิร้องทุกข์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง หรือก.ค.ศ. แล้วแต่กรณี
มาตรา ๑๒๔ หลักเกณฑ์และวิธีการในเรื่องที่เกี่ยวกับการอุทธรณ์และพิจารณาอุทธรณ์และการร้องทุกข์และพิจารณาร้องทุกข์ ตามมาตรา ๑๒๑ มาตรา ๑๒๒ และมาตรา ๑๒๓ ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ
มาตรา ๑๒๕ เมื่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา หรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง หรือ
ก.ค.ศ. แล้วแต่กรณี ได้วินิจฉัยอุทธรณ์หรือร้องทุกข์ตามมาตรา๑๒๑ หรือมาตรา ๑๒๒ แล้ว
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือกรณีที่มิได้บัญญัติ
มาตรา ๑๒๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาซึ่งโอนมาจากพนักงานส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นหรือข้าราชการตามมาตรา ๕๘ ผู้ใดถูกสั่งลงโทษทางวินัยอยู่ก่อนวันโอนมาบรรจุและผู้นั้นมีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
(