Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ASD atrial septal defect - Coggle Diagram
ASD atrial septal defect
พยาธิสภาพASD
ให้มีทางติดต่อระหว่างเอเตรียมซ้ายและขาเมื่อมีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นหัวใจระหว่างเอเตรียมในขณะหัวใจคลายตัว เนื่องจากเอเตรียมซ้ายมีความดันเลือดสูงกว่าเอเตรียมขวาเล็กน้อย เลือดส่วนหนึ่งจะให้ลัดจากเอเตรียมซ้ายไปสู่เอเตรียมขวา และเลือดอีกส่วนหนึ่งจะไหลผ่านชั้นไมตรัลลงสู่เวนตริเคิลซ้ายจากการที่มีเลือดไหลลัดทำให้มีปริมาณเลือดไหลกลับเข้าสู่เอเตรียมขวามากกาปกติ เวนตริเคิลขวาจะรับปริมาณเลือดเพิ่มมากขึ้นด้วย ทำให้เอเตรียมขวาและเวนตริเคิลขวาทำงานหนักมากขึ้น จนอาจทำให้เอเตรียมขวาขยายตัวขึ้น (right atrial enlargement) และเวนตริเคิลขวาจะมีการหนาตัวขึ้นด้วย (right ventricular hypertrophy) และส่งผลให้มีปริมาณเลือดไหลไปสู่ปอดเพิ่มมากขึ้น ในบางรายจะภาวะหัวใจวาย ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ ) ในผู้ป่วยที่มี ASD จะมีปริมาณเลือดที่ไหลออกไปเลี้ยงร่างกายต่อนาทีลดลง แต่มีค่าความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดแดงปกติเมื่อพิจารณาตามชนิดของ ASD ที่พบได้บ่อยที่สุด คือ secundum ASD ที่มีรูรั่วอยู่ใกล้ส่วนกลางขอผนังกั้นหัวใจห้องบน ส่วนขนาดของ ASD นั้นจะมีผลต่อการไหลลัดของเลือด สามารถจำแนกได้เป็น 3 กลุ่มดังนี้ASD ขนาดเล็ก ขนาดของ ASD มักเล็กกว่า 8 มิลลิเมตร จะทำให้มีการไหลลัเลือดไปปอดมากขึ้น โดยมีปริมาณการไหลของเลือดผ่านปอดไม่ถึง 2 เท่าของปริมาณการไหลของเลือดผ่านร่างกายของปริมาณการไหลของเลือดผ่านร่างกายSD ขนาดป่านกลาง จะมีเลือดปปอดมากขึ้น มีปริมาณการไหลของเลือดผ่านASD ขนาดใหญ่ จะมีเลือไปปอดมายิ่งขึ้น มีปริมาณการไหลของเลือดผ่านปอดมาของปริมาณการไหล :
ภาวะแทรกซ้อน
การผ่าตัดปิดผนังกั้นห้องด้านบนเป็นการผ่าตัดที่ไม่ยุ่งยาก แต่ก็สามารถเกิดปัญหา และอันตรายต่อผู้ป่วยได้ "ดังนี้
- รูรั่วหลงเหลือ residual ASD
-
- หลอดเลือดดำพัลโมนารีเปิดผิดที่ โดยมาเปิดที่เอเตรียมขวา
- หลอดเลือดดำใหญ่ส่วนล่าง IVC เทเข้าเอเดรียมซ้าย
-
- หลอดเลือดคำ azygOร เทเข้าเอเตรียมซ้าย
- เกิดภาวะฟองอากาศอุดเส้นเลือดสมอง air embolism
-
การรักษา
- รูรั่วขนาดเล็กสามารถปิดได้เอง
- รักษาภาวะหัวใจวาย โดยให้ยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ
ยาขับปัสสาวะ และยาขยายหลอดเลือด
- รูรั่วขนาดใหญ่ หรือแสดงอาการรุนแรงมากขึ้น รักษาด้วยการผ่าตัดปิดรูรั่วก่อนวัยเรียน (อายุ 2-5 ปี)
การตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค
- ภาพถ่ายรังสีทรวงอก รายที่มีรูรั่วขนาดปานกลางพบ หัวใจห้องบนขวาโด
- คลื่นไฟฟ้าหัวใจ รูรั่วปานกลางมักพบ หัวใจห้องบนขวาขยายตัว และหัวใจห้องล่างขวาหนาตัว
- คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง ช่วยบอกตำแหน่ง ขนาด และรูปร่างของ ASD
สาเหตุ
1.มารดาได้รับยาขณะตั้งครรภ์ เช่น ยาระงับชัก ยาสงบประสาท กลุ่มยาฮอร์โมน หรือมารดาดื่มสุราทำให้ เด็กเป็นโรคหัวใจได้หลายๆ โรค เช่น ผนังกั้นหัวใจห้อง ล่างรั่ว (ventricular septal defect, VSD) ผนังกั้นหัวใจ ห้องบนรั่ว (atrial septal defect, ASD) หรือ pulmonary valve u (pulmonary stenosis, PS) หรือหลอดเลือด aorta และ pulmonary artery ออก สลับกันโดย aorta ออกจากหัวใจห้องล่างขวาและ pulmonary artery ออกจากหัวใจห้องล่างซ้าย (transposition of great arteries, TGA
2.ความเจ็บป่วยของมารดา เช่น มารดาเป็นเบา หวาน เด็กที่เกิดอาจเป็นโรคหัวใจชนิด VSD, PDA, ASD และ Tetralogy of Fallot (TOF) ซึ่ง โรค TOF เป็นโรค หัวใจชนิดที่มีอาการเขียวที่มีความผิดปกติของโครงสร้าง หัวใจ หรือมารดาเป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด จะทำให้มีบุตร เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ร้อยละ 3 – 4 เป็นต้น
3.ความผิดปกติด้านพันธุกรรม เช่น การแบ่งตัว ของโครโมโซมที่ผิดปกติ ทำให้เด็กที่เกิดมาเป็นโรคหัวใจ แต่กำเนิดร่วมด้วย (Hoffman, 2013) เด็กที่ความผิดปกติ ของโครโมโซมคู่ที่13 และ 18 คือมีโครโมโซม 3 ตัว เด็ก อาจเป็นโรคหัวใจชนิด VSD, PDA หรือเด็กเป็น Down Syndrome จะเป็นโรคหัวใจชนิด VSD, PDA และโรค หัวใจที่มีการรั่วของผนังกั้นหัวใจทั้งบนและล่าง (endocardial cushion defect
อาการและอาการแสดง
โดยทั่วไป เด็กที่มี ASD ทั้งในเด็กเล็กและเด็กโต มักจะไม่มีอาการแสดงหรืออาการที่ผิดปกติ บางรายอาจจะมีการติดเชื้อในระบบหายใจ หรือมีการเจริญเติบโตช้า ในเด็กที่มีการไหลลัดของเลือดในปริมาณมากอาจจะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายเวลาออกแรงหรือออกกำลังกาย การตรวจร่างกายจะพบ right ventricularheave ฟังเสียงหัวใจจะได้เสียง S2 เป็นเสียงแยก และได้ยินเสียง systolic ejection murmur ได้ชัดที่บริเวณheave ฟังเสียงหัวใจจะได้เสียง S2 เป็นเสียงแยก และได้ยินเสียง systolic ejection murmur ได้ชัดที่บริเวณผ่านลิ้นไตรดัสปิดที่มีขนาดปกติลงสู่เวนตริเดิลขวา จึงเสมือนว่ามีเกิดการตีบของลิ้นไตรดัสปิดขึ้น (ดวงมณีเลาหประสิทธิพร, 2540; พรเทพ เลิศทรัพย์เจริญ และวิโรจน์ สืบหลินวงศ์, 2539; ศรีสมบูรณ์ มุสิกสุคนธ์,
2543)
-