Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pattsorn 7, นางสาวภัสสร วิชัยดิษฐ รหัส 2669001428 - Coggle Diagram
Pattsorn 7
การพัฒนาระบบการบริหารงาน และการปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาระบบบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเด็นปัญหาในด้านระบบ
ด้านโครงสร้างการจัดองค์การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ด้านกระบวนการในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเด็นศักยภาพ
แนวคิดในการพัฒนาระบบการบริหารงาน
การพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพทันกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์
การพัฒนาองค์ประกอบของการเกษตรกรรม
การปฏิรูปแนวทางการบริหารงาน
ประเด็นปัญหาที่จะต้องแก้ไข และศักยภาพหรือโอกาสที่จะพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนากรกษตร
ประเด็นจาการวิเคราะห์เพื่อกำหนดแผนพัฒนาฯ ฉ.12 (2560-2564)
การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้มีความพร้อมที่จะผลักดันการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการเกษตรไปสู่การปฏิบัติ
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ
การบูรณาการเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างแผน
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ข้อระเบียบ
การสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ภาคีที่เกี่ยวข้อง
การสร้างความร่วมมือจากภาคีที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ขยายการทำเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สร้างความภูมิใจและมั่นคงในอาชีพเกษตรกรรม
ส่งเสริมการทำการเกษตรยั่งยืนให้เห็นผลในทางปฏิบัติ
พัฒนาความรู้ของเกษตรกรสู่มืออาชีพ
การพัฒนากระบวนการหรือขั้นตอนการเกษตรกรรม
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร
ส่งเสริมการค้าชายแดน
ประเด็นการพัฒนาจากนโยบายของรัฐบาล
ดูแลเกษตรกรให้มีรายได้ที่เหมาะสมด้วยวิธีการต่างๆ
ลดอุปสรรคในการส่งออก
แก้ปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝน
ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร และ การสนับสนุนให้สหกรณ์ของกลุ่มที่ผลิตสินค้าเพิ่มบทบาทในฐานะผู้ซื้อผลจนถึงการแปรรูปและการส่งออกแล้วเเต่กรณี
ประเด็นหลังจากการปฏิรูปการเกษตรของประเทศ
การทำให้เกษตรกรมั่งคั่ง มีเกียรติ
เกษตรกรมีสมรรถนะดี
การพัฒนาสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง มีเครือข่าย
การทำให้ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การปฏิรูปแนวทาง
การพัฒนาระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การส่งเสริมแนวทางในการกำหนดรูปแบบ
การส่งเสริมให้นำแนวคิดทางการบริหารสมัยใหม่มาเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการกำหนดยุมธศษสตร์ และการนำไปปฏิบัติ
การส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสร้างความก้าวหน้าในกระบวนการบริหารงานเเละในกระบวนการหรือขั้นตอนการเกษตรกรรม
การพัฒนาปัจจัยการผลิตทางกาารเกษตร
การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคี
การส่งเสริมการทำเกษตรที่สมดุลและยั่งยืน
การพัฒนากระบวนการเกษตรกรรม
การส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาในทุกกระบวนการหรือขั้นตอนของการเกษตรกรรม
การส่งเสริมฝห้นำการตลาดมาขับเคลื่อนการพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาองค์ประกอบอื่นๆ ในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นแหล่งเกษตรกรรมที่สามารถสร้างความมั่นคงทางอาหารและการผลิตพืชพลังงานทดแทน
การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และรายได้เกษตรกร
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระบบหรือรูปแบบและวิธีการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาองค์กรด้านโครงสร้างการจัดองค์การ
การพัฒนาองค์กรด้านกระบวนการผลิตให้เป็นกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ความพร้อมของปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
การอนุรักษ์และพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
กระบวนการหรือขั้นตอนของการเกษตรกรรม
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
การพัฒนากระบวนการหรือขั้นตอนของการเกษตรกรรมที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการ์ระดับโลก
การส่งเสริม และพัฒนาคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของภาคีการพัฒนา
ผู้บริหารของหน่วยงานภาครัฐ
เกษตรกรและ ประชากรภาคเกษตร
ผู้ที่ได้รับผลจากการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง
ประเภทหรือสาขาของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
สาขาพืช
ทำนา ทำไร่ ทำสวน
สาขาปศุสัตว์
การเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อใช้งานหรือเป็นอาหาร
สาขาประมง
การจับสัตว์น้ำ หรือเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาขาป่าไม้
การเกษตรที่เกิดจากประโยชน์ของป่าไม้
สาขาบริการทางการเกษตรและกิจกรรมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ที่ดินทางการเกษตร
แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
ประชากรและแรงงานภาคการเกษตร
แหล่งทุนของเกษตรกร
สารเคมี ปุ๋ย ยาและเวชภัณฑ์เกษตร
เครื่องจักรกล เครื่องมือ และอุปกรณ์การเกษตร
แหล่งพลังงาน
กระบวนการทางเกษตรกรรม
การผลิต
การแปรรูป
การกำหนดและรับรองมาตรฐาน
การขนส่งและการคังสินค้า
การตลาด
การวิจัยและพัฒนา
ระบบการบริหารงาน
การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ระดับโลก
ด้านเศรษฐกิจ
กฎ กติกา ด้านการค้า
ความผันผวนของเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ประชากรโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลก
ด้านความมั่นคง และสิ่งแวดล้อม
สภาวะความมั่นคงทางอาหาร และพลังงานของโลก
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และภัยคุกคามทางธรรมชาติ
กระแสอนุรักษ์นิยม และความนิยมธรรมชาติ
ด้านการบริหารจัดการ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การจัดทำข้อตกลง และพันธกรณีต่างๆ ระหว่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ภายในประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ
มีภูมิคุ้มกันด้านการเงินจากการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องตั้งเเต่ปี 240
เสถียรภาพทางการคลังและการเงินหลังปี 2551 สภาพเศรษฐกิจไทยชะลอตัวลงตามเศรษฐกิจโลก
ด้านสังคม
สัดส่วนประชากรสูงวัยเพิ่มขึ้น
ขาดกำลังคน
มีการเเพร่ระบาดของยาเสพติด
ความเหลื่อมล้ำทางรายได้
ด้านความมั่นคงและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ภาวะโลกร้อน
พึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศในสัดส่วนที่สูง
ด้านการบริหารจัดการ
การเปลี่ยนแปลงนโยบายภาครัฐ
การน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
ระบบ ทิศทาง และผลการดำเนินงานในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
โครงสร้างการจัดการองค์การ
องค์กร หรือหน่วยงานรัฐ
ราชการบริหารส่วนกลาง
ราชการบริหารส่วนภูมิภาาค
ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
องค์กรภาคเอกชน
องค์กรภาคประชาชน
กลุ่มอาชีพ
กลุ่มอาสาสมัคร
กระบวนการบริหารงาน
การกำหนดยุทธศาสตร์
การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
การติดตามและประเมินผล
ทิศทางและผลการดำเนินงานในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ทิศทางการบริหารงาน
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
การเสริมสร้างพัฒนาขีดความสามารถในการทำงานโดยการปรับปรุงรูปแบบ และวิธีการบริหารให้เป็นการจัดการแบบองค์รวม
การเสริมสร้างความเข้มแแข็งให้แก่ภาคีหนือหุ้นส่วนการพัฒนา
การพัฒนาระบบการบริหารงานเทคโนโลยีสารสนเทศภาคเกษตรและสหกรณ์
การจัดการความเสี่ยงที่มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นและมีผลกระทบหรือความเสียหายต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การส่งเสริมการทำเกษตรกรรมที่สมดุลและยั่งยืน
การพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ปัจจัยด้านที่ดินทางการเกษตร
เสริมการใช้สารอินทรีย์ทดแทรสารเคมีทางการเกษตร
ป้องกันและแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำ
ควบคุมการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรการเกษตรอย่างเหมาะสม
การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเกษตรกรรม
การพัฒนาขีดความสามารถการบริหารจัดการสินค้าเกษตร
การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์
การดำเนินงาน
โครงสร้างการจัดองค์กรการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
เพิ่มความสามารถในการเเข่งขันด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
พัฒนากฏหมายี่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรให้เหมาะสม
การพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
สนับสนุนให้เกษตรกรและท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร
การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเกษตรกรรม
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
สนับสนุนการพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตร
การส่งเสริมความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างประเทศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทาน
หารสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจภูมิภาค และระหว่างประเทศ
ผลการดำเนินงาน
ผลการพัฒนาด้านการเกษตรตามแผนพัฒนาฯ ฉ.10 (2550-2554)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
ขยายตัวเพียงร้อยละ 1.7 ต่ำกว่าเป้าหมาย และมีแนวโน้มลดลง
ผลิตภาพการผลิตทางการเกษตร
เน้นการยกระดับรายได้เกษตรกรให้สูงขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตภาคเกษตร
มีอัตราการขยายตัวเฉลียร้อยละ 1.64
ผลการพัฒนาด้านการเกษตรตามแผนพัฒนา ฉ.11 (2555-2559)
ความผาสุกของเกษตรกร
เพิ่มขึ้นอยู่ที่ 78.28 สูงกว่า ฉ.10
การเติบโตเศรษฐกิจภาคเกษตร
GDP อยู่ที่ 1.33 ต่ำกว่าเป้าหมาย
พิ้นที่การเกษตรได้รับการบริหารจัดการ
การขยายพื้นที่ชลประทาน ต่ำกว่าเป้าหมาย
ทรัพยากรดินได้รับการบริหารจัดการ ได้เกินกว่าเป้า
ปัจจัยเสี่ยงและข้อจำกัดในการพัฒนาการเกษตร
ด้านเศรษฐกกิจ
รายจ่ายเพิ่มขึ้น เงินออลดลง
ด้านสังคม
เกษตรกรเข้าร่วมกลุ่มลดลง
ด้านทรัพยากร
ทรัพยากรเสื่อมโทรม
นางสาวภัสสร วิชัยดิษฐ รหัส 2669001428