Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
หมวด 3
ระบบการศึกษา
มาตรา ๑๕ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา 16
คือ กํารศึกษาขั้นพื้นฐาน และกํารศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กํารศึกษําซึ่งจัดไม่น้อยกว่ําสิบสองปีก่อน
ระดับอุดมศึกษํา
การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็น2ระดับ ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี และระดับปริญญาตรี
มาตรา 17
ให้มีการศึกษาภาคบังคับเก้าปี โดยให้เด็กที่มีอายุย่างเข้าเจ็ดปีเข้าเรียนในสถานศึกษาจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก พ้นการศึกษาภาคบังคับ
มาตรา 18
การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 2โรงเรียน 3ศูนย์การเรียนรู้
มาตรา 19 การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 20 การจัดการอาชีวศึกษา
มาตรา 21 กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 11
บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
มาตรา 12
นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคลครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 13
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา
การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการให้การศึกาาแก่บุตร หรือบุคคลในความดูแล
มาตรา 10
การจัดการศึกษา ให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกาาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี อย่างทั่วถึง โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
มาตรา 14
บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสิทธิได้รับประโยชน์ตามควรแก่กรณี
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา
การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
หมวดที่ 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ : :
มาตรา 6 การจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรม
มาตรา 7 กระบวนการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันเป็นพระมหากษัตร์เป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
มาตรา 8 การศึกษาให้ยึดหลัก
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
การศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
มาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้างปละกระบวนการการจัดการศึกษา
มีเอกภาพด้านนโยบายและความหลากหลายในการปฎิบัติ
มีการกระจายอำนาจ
เขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษา
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา
มีหลักกํารส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาและการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทำงการศึกษาอย่ํางต่อเนื่อง
ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่ําง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่กระบวนการเรียน
มาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษา
มาตรา 25 รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ ต้องมีลักษณะหลากหลาย มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสมแก่วัยและศักยภาพ
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้
(6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวก เพื่อให้เกิดความรอบรู้แก่ผู้เรียน
(4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆอย่างได้สัดส่วน สมดุลกัน
(3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
(1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
(2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
มาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมโดยจัดกระบวนการการเรียนรู้ภายในชุมชนเพื่อพัฒนา หาวิธีการสนับสนุน แลกเปลี่ยนประสบการณ์
มาตร 23การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสม
(1) ความรู้เกี่ยวกับตนเองและความสำพันธ์ของตนเองกับสังคม
(2) ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งคววามรู้ความเข้าใจและประสอบการณ์เรื่องการจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน
(4) ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
(5) ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
(3) ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และกํารประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา 41 มีสิ่ทธฺ์จัดการศึกษษในระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการภายในท้องถิ่น
มาตรา 42 ให้กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษา และมีหน้าที่ประสานและส่งเสริม ให้จัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบาย
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา 32/2 การจัดระเบียบราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา 33 สภาการศึกษา
พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและกีฬํากับการศึกษาทุกระดับ
พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามแผน
พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา
ให้ความเห็นหรือคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวง
มาตรา 32/1 กระทวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน และกำกับ
มาตรา 34 มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายและหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ
มาตรา 32 การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงมีองค์กรหลัก
คณะกรรมการการศึกษษขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สภาการศึกษา
มาตรา 35 กรรมการโดยตำแหน่ง ผู้แทน และผู้ทรงคุณวุฒิ มีจำนวนไม่น้อยกว่ากรรมการประเภทอื่นรวมกัน วิธีการต่าง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด
มาตรา 31 กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษา
ทุกระดับ ทุกประเภท และการอาชีวศึกษา แต่ไม่รวมถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่อยู่ในอุดมศึกษา
มาตรา 36 ให้สถํานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล และ
อาจจัดเป็นส่วนราชการหรือเป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐ
มาตรา 37 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยคำนึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนสถานศึกษา จำนวนประชากร วัฒนธรรมและความเหมาะสมด้านอื่นด้วย
มาตรา 38 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่ในการกำกับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐํานในเขต
พื้นที่การศึกษา ประสาน ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษา ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สํามํารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐาน การศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนองค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายในเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจํายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษํา ทั้งด้าน วิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการและสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง
มาตรา 40 ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ำกว่าปริญญา และสถานศึกษาอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศึกษา เพื่อทำหน้าที่กำกับและ ส่งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นในพื้นที่ และผู้ทรงคุณวุฒิ
ส่วนที่ 3 การบริหารและจัดการศึกษาเอกชน
มาตรา 43 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็นอิสระ โดยมีการกำกับติดตาม การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเช่นเดียวกับสถานศึกษาของรัฐ
มาตรา 44 ให้สถานศึกษา เป็นนิติบุคคล และมีคณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน ผู้รับใบอนุญาต ผู้แทนผู้ปกครองผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนครู ผู้แทนศิษย์เก่ํา และผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา 45 ให้สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภทการศึกษาตํามที่กฎหมายกำหนด โดยรัฐต้องกำหนดนโยบํายและมาตรการที่ชัดเจนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของเอกชนในด้านการศึกษา
มาตรา 46 รัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือการยกเว้นภาษี และสิทธิประโยชน์อย่ํางอื่น ที่เป็นประโยชน์ในทางการศึกษาแก่สถานศึกษาเอกชนตามความเหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการให้สถานศึกษาเอกชนมีมาตรฐานและสามารถพึ่งตนเองได้
หมวด 6 มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตฐานการศึกษาของการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพ ระบบหลักเกณฑ์
มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
มาตรา 49 ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณการศึกษา
มาตรา 51 ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษา ใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดข้อเสนอแนะและปรับปรุงแก้ไข ต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้แก้ไขภายในกำหนด
มาตรา 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐาน ที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ตลอดจนให้บุคลากรทางการศึกษา เพื่อประเมินคุณภาพการศึกษา
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 54 ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โยยึดหลักการกระจายอำนาจการบริหารงานบุคคลสู่เขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา 55 ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เกื้อกูล สำหรับข้าราชการบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 56 การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 57 ให้หน่วยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยนำประสบการณ์ ความรอบรู้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษา
มาตรา 52 ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต พัฒนาครู
มาตรา 51 คณาจารย์ บุคลากรที่ทำหน้าที่หลักด้านการสอนและวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา
มาตรา 53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบิหารของสภาวิชาชีพ
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน ทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชนเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ ให้รัฐจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาได้ตามความเหมาะสม ให้บุคคลบริจาคทรัพย์สินและ ทรัพยากรอื่นๆให้แก่สถานศึกษา และมีส่วนร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและจำเป็น
มาตรา 59
มาตรา 59 ให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้ [และจัดหาผลประโยชน์ของทรัพสินของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษา
มาตรา 60 ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับสถานศึกษา โดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณดังนี้ (1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายผู้เรียนภาคบังคับ (2) จัดสรรทุนการศึกษากองทุนกู้ยืมให้แก่ครอบครัวที่มีรายได้น้อย (3) จัดสรรงบประมาณทรัพยากรทางการศึกษาให้เหมาะกับผู้เรียนที่มีความต้องการเป็นพิเศษแต่ละกลุ่ม (4) จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช่จ่ายลงทุนให้สถานศึกษาของรัฐตามนโยบาย (5) จัดสรรเงินงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุน (6) จัดสรรกองทุนกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำให้สถานศึกษาเอกชน (7) จัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาของรัฐและเอกชน
มาตรา 61 ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล
มาตรา 62 ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา การตรวจสอบภายนอกภายใน
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา : :
มาตรา 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐานอื่น ต่อการส่งเสริมวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการสื่นสารในรูปแบบอื่น เพื่อใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาในระบบ นอกระบบ ในระบบ ตามอัธยาศัย
มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 69 รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจรณาเสนอนโยบาย ผนส่งเสริมและประสานการวิจัย การพัฒนาและการใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใช้เทคโนโลยี
มาตรา 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการผลิต
มาตรา 66 ผุู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาในการใช้เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอ
มาตรา 67 รัฐต้องมีการส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มตรา 68 ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐ เพื่อการพัฒนาคนและสังคม หลักเกณฑ์วิธีการจัดสรรเงินกองทุน ให้เป็นไปตามกำหนดในกฏกระทรวง
สมาชิกกลุ่ม
นายณัฐกานต์ ฤทธิ์ฉิ้ม 157
ว่าที่ร.ต.หญิงดนิตา สุวรรณรัตน์ 158
นางสาวศิรินภา จันทร์เพ็ญ 180