Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Psychopharmacotherapy, นางสาวณัฐญา มุสิกะชาติ 65019600 - Coggle Diagram
Psychopharmacotherapy
ยาลดอาการข้างเคียงของยาต้านอาการโรคจิต
Trihexyphenidyl (Artane)
Benztropine (Cogentin)
Procyclidine( Kemadrin)
Carbidopa/Levodopa(Sinemet)
การพยาบาล
Vital Signs รายที่อัตราการเต้นของหัวใจเต้นเร็วผิดปกติจากอาการข้างเคียงของยา
แนะนำแนะนำการรับประทานผักผลไม้ในอาการท้อง
ดูแลให้ได้สารอาหารในปริมาณที่สมดุลย์เพื่อลดอาการปากแห้ง
ดูแลให้ได้สารอาหารและสารน้ำดูแลให้ได้สารอาหารและสารน้ำในปริมาณที่เพียงพอในผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
การให้ข้อมูลกับผู้ป่วยสูงอายุอาจมีสับสนคิดช้าควรพูดด้วยประโยคสั้นสั้นเข้าใจง่ายพูดซ้ำการให้ข้อมูลกับผู้ป่วยสูงอายุอาจมีสับสนคิดช้าควรพูดด้วยประโยคสั้นสั้นเข้าใจง่ายพูดซ้ำ
ยาอาจทำให้มียาอาจทำให้มีตาพล่า ม่านตาขยาย
ดูแลการขับปัสสาวะ ผู้ป่วยอาจมีปัสสาวะคลั่ง
ยาต้านเศร้า
กล่มุ tricyclicantidepressant(TCAs)
ไปยับยั้ง cholinergic neurons (หลั่ง Ach)
ผลข้างเคียง
ยับยั้ง Histamine Receptors
ง่วงซึม(Sedative) น้ำหนักเพิ่ม
ยับยั้ง Adrenergic Receptors
Cardiovascular ปัญหาต่อการนำไฟฟ้าของหัวใจ
ยับยั้ง Muscarinic Receptors
Central nervous system effects : มือสั่น หงุดหงิด กระสับกระส่าย ผุดลุกผุดนั่ง
Anticholinergic
ตาพร่า ใจสั่น ปากแห้ง คอแห้ง ท้องผูก
กล่มุ Selective Serotonin Reuptake Inhibitors(SSRI)
ยาไปปิดกั้นการย้อนกลับไปท่ีpresynapsticsiteของ serotonin ทำให้มี serotonin ยังคงอยู่ในช่องว่างปลาย ประสาทและสามารถทาปฏิกิริยาได้ต่อไป
ยากลุ่ม Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRI)
Fluoxetine ( Prozac )
Fluvoxamine ( faverin )
Paroxetine ( Seroxat )
Sertraline ( Zoloft )
Escitalopram
Serotonin syndrome
กระสับกระส่าย อยู่นิ่งไม่ได้
การทำงานกล้ามเนื้อไม่ประสานสัมพันธ์กัน
อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น
ท้องเสีย หัวใจเต้นเร็ว ประสาทหลอน
คลื่นไส้อาเจียนความดันโลหิตเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
การหยุดยาทันที
มักทำให้อาการกาเริบ(Relapse)
มักทำให้เกิดอาการ withdrawal กำเริบหรือ
hypomania
ควรค่อย ๆ ปรับลดยาช้า ๆ
กล่มุ Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs)
ยาไปยับยั้งเอนไซม์ monoamine oxidase (MAO) ไม่ให้ทำลายสารสื่อประสาททำให้สารสื่อประสาทกลุ่ม Monoamineไม่ถูกทำลายและยับคงทำปฏิกิริยาได้ต่อไป
ยากลุ่ม Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs)
Moclobemide
Isocarboxazid(Marplan)
Phenelzine (Nardil)
Selegiline (Emsam,Eldepryl)
Tranylcypromine (Parnate)
ผลข้างเคียง
ไม่ควรให้ยาต้านซึมเศร้าตัวอื่นร่วม ด้วยถ้าต้องการเปลี่ยนยาเป็นยาต้านซึมเศร้ากลุ่มอื่นควรหยุดยาMAOIsก่อนประมาณ2สัปดาห์แล้วจึงให้ยาในกล่มุ TCA หรือ SSRI
ได้รับยาTCAแล้วน้ันหากต้องการให้ยาMAOIs ร่วมไปด้วยควรระวังผลข้างเคียงHypertensivecrisis
Fluoxetineไม่ควรให้MAOIsเลยและควรหยุดยาfluoxetineก่อน5สัปดาห์ก่อนที่จะเริ่มให้ยาในกลุ่มMAOIs
กล่มุ New generation
มีกลไกการออกฤทธ์ิต่อสารสื่อประสาทหลายชนิด เช่น norepinephrine serotonin เป็นต้น
Serotonin-Norepinephrine Receptor Inhibitors
Venlafaxine
Duloxetine
Desvenlafatine
Milnacipran
Norepinephrine Reuptake Inhibitors
Reboxetine
Atomoxetine
Norepinephrine-Dopamine Reuptake Inhibitors
Bupropion
Alpha Adrenergic receptor antagonist
Mitrazapine
Mianserin
Serotonin Mianserin Receptor agonist and antagonist
Nefazodone
Trazodone
ยาควบคุมอารมณ์ หรือ ยาลดอาการคลุ้มคลั่ง
Antimania
Lithium carbornate
ยับยั้งEnzymeที่มีส่วนในการทางานของ Phosphatidyl inositol system ที่เรียกว่า Inositol monophosphatase ทำให้ไม่สามารถส่งต่อสัญญาณประสาทเข้าไปในเซลล์
การพยาบาล
ก่อนให้ลิเทียมควรเจาะเลือดตรวจ CBC BUN creatinine Electrolytes
ตรวจ urinalysis, 24 hour creatinine, creatinine clearanc
thyroid stimulating hormone(T4), T3, T4,,
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ผลข้างเคียง
รับประทานอาหารเพิ่มขึ้น น้ำหนักตัวเพิ่ม
ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ
ควรตรวจ Electrolytes BUN / Cr
เกิดเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น
เดินเซ ง่วงซม มือสั่น
Anticonvulsants
Lamotrigine (Lamixtal)
Carbamazepine (Tegretal)
รักษาอาการจติเวช
Acute mania
Depression
Psychiatric symptom เกิดขึ้นหลังจาก Seizure disorder
Schizoaffective disorder
Episodic dyscontrol syndrome
ผลข้างเคียง
Drug interactions เช่น Phenytoin, Phenobarbital,
TheophyllineลดระดับCarbamazepine
Erythromycin, Lithium, Verapamil, Isoniazid และ Cimetidineเพิ่มระดับCarbamazepine
คลื่นไส้อาเจียน ผื่นขึ้นตามตัว ตาพร่า มึนงง ง่วงนอน เดินเซ
Gabapentin(Neurontin)
Oxcarbamazepine(Trilep tal)
Toprilamate (Topamax)
Atypical antipsychotic
Benzodiazepines
Calcium channel blocker
Verapamo
Nifedipine(Adalat, Procardia)
ยาลดอาการวิตกกังวลและยานอนหลับ
ยากลุ่ม sedative
ช่วยลดอาการวิตกกังวล กระสับกระส่าย ตื่นเต้น ที่ไม่ใช่สาเหตุทำให้นอนไม่หลับ
กลุ่มยา
Benzodiazepine,
Diazepam (Valium),
Chlordiazepoxide (Librium)
Clorazepate (Tranxene)
Prazepam (Centrax)
Alprazolam
Lorazepam (Ativan)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการหลั่งสารสื่อประสาท GABA ลดอาการวิตกกังวล นอนไม่หลับ
คุณสมบัติละลายในไขมันได้ดีและจับกับโปรตีนสูง แม้ว่า Benzodiazepine
Therapeutic effects of benzodiazepines
Anxiolytic
Sedative หากใช้ยาในปริมาณสูง
Anticonvulsant
Muscle relaxant
Amnestic : anesthesia , chemotherapy
Antistress : HT
GABA enhancers,
melatonergis hypnotic
antihistamine
ยาช่วยให้นอนหลับ
การพยาบาล
ความรู้เรื่องอาการข้างเคียงของยา
ยากดการทำงานของยากดการทำงานของระบบประสาทส่วนกลางทำให้มีอาการง่วงซึม
ทำทำให้ความสามารถในการคิดการจำและการตัดสินใจลดลง
สมาธิลดลง
การควบคุมแขนขาไม่สัมพันธ์กันไม่มีแรง
แนะนำให้แนะนำให้เลี่ยงการขับรถการทำงานกับเครื่องจักร
ไม่ควรดื่มแอลกอฮอล์และยาระงับประสาทอื่นๆเพราะจะเสริมฤทธิ์ยาขายกังวล
ไม่ใช้ร่วมกับยาลดกรดเพราะทำให้ไม่ใช้ร่วมกับยาลดกรดเพราะทำให้การดูดซึมยาคลายกังวลลดลง
ยาต้านอาการโรคจิต
(Antipsychotic drugs )
Typical antipsychotic drugs
ยากลุ่มดั้งเดิม (Conventional) ส่วนใหญ่กลไกการออกฤทธ์ิจะยับยั้ง Postsynapticdopaminergictype2 receptor
รักษา Positive symptom
ผลข้างเคียงมากยาจะไปยับยั้งการทางานของPumpของ Serotonin neuron และ Norepinephrine neuron ทำให้จำนวน Serotonin และ Norepinephrine เพิ่มมากขึ้น
กลไกการออกฤทธิ์
ยาออกฤทธ์ิไปแย่งจับ D2 receptors ที่ Mesolimbic pathway ทำให้ Dopamine receptors ไม่สามารถทางานได้
ช่วยรักษาอาการ positive symptoms
Typical antipsychotic drugs
Haloperidol (Haldol),
Perphenazine
Pimozide
Chlorpromazine (Thorazine,Mellaril)
Perphenazine (Trilafon)
Thiothixene (Navane)
Flupenthixol (Fluanxol)
Trifluoperazine (Stelazine)
แบ่งกลุ่มยาตามศักยภาพ Potency
Highpotency ศักยภาพในการจับกับ DA receptors สูง เช่น Hadol
Medium (Intermedaite) potency เช่น Perphenazine
Low potency เช่น Thaioridazine
Hadol
รักษาอาการทางจิตเน้นเพ้อคลั่งประสาทหลอนและ sedate ในอาการคุ้มคลั่ง
ชนิดฉีดคร้ังเดียวให้ผล4สัปดาห์
อาการข้างเคียง EPS (extra pyramidal symptoms)
เสริมฤทธ์ิ ยานอนหลับ แก้ปวด กดหายใจ
ระวังในสูงอายุ
ระวังการใช้ยาร่วมกับยาอื่นที่ทำให้เกิด parkinsons
ทำให้ง่วงซึม ติดยา
เม็ดเลือดผิดปกติ BPต่ำ ตัวเหลือง Hyperthermia
Atypical antipsychotic drugs
การได้รับยาเป็นเวลานานไม่ทำให้เกิดอาการvitalsigns คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ หรือ extrapyramidal side effect มากขึ้น
อาจมีอาและมือสั่น
Atypical antipsychotic drug
Risperidol
Olanzapine
Ziprazidone
Paliperidone
Zotepine
Clozapine
Quetiapine
Side effect : antipsychotic drug
acute dystonia
กล้ามเนื้อบิดเกร็งอย่างทันทีอาจมีลิ้นแข็ง พูด หรือกลืนลำบากตาเหลือกคอบิด(torticollis) หลังแอ่น(VDO)
pseudoparkinsonism
อาการกล้ามเนื้อแข็ง เกร็งส่ัน เคลื่อนไหวช้า เดิน ไม่แกว่งแขน มักเกิดใน 4 สัปดาห์
akathisia
กระวนกระวายในใจอยู่นิ่งไม่ได้นั่งไม่ติดที่ ผุดลุกผุดนั่ง ต้องขยับแขนขา
Tardive dyskinesia
ดูดริมฝีปากหรือริมฝีปากห่อดูดแก้มจนแฟบสิ้นเคลื่อนไหว อย่างรวดเร็ว ควบคุมการเคี้ยวไม่ได้
การพยาบาล
น้ำหนักตัวและค่า BMI (น้ำหนักเกิน BMI = 25-29.9, อ้วน BMI > หรือเท่ากับ 30 )
สังเกตระดับค่า BMI ในช่วง 3 เดือนแรกของการรักษา
บันทึกประวัติการเจ็บป่วยก่อนการรักษาเช่นเป็น โรคเบาหวานอ้วนไขมัน สูงความดัน โลหิตสูงหัวใจและหลอดเลือด
วัดรอบเอวผ่านสะดือ (ชาย ไม่ควรเกิน40 นิ้วและหญิงไม่ควรเกิน 35นิ้ว)
Bromocriptine (โบรโมคริปทีน) เป็นยาป้องกันการหลั่งน้ำนมหลังคลอด รักษาภาวะระดับฮอร์โมนโปรแลคตินในเลือดสูง
นางสาวณัฐญา มุสิกะชาติ 65019600