Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 สรีระวิทยา จิตสังคม การพยาบาลและการผดุงครรภ์ สตรีในระยะตั้งครรภ…
หน่วยที่ 3 สรีระวิทยา จิตสังคม การพยาบาลและการผดุงครรภ์ สตรีในระยะตั้งครรภ์
การปฏิสนธิ การเจริญเติบโตและการพัฒนาการของารกในครรภ์
การปฏิสนธิ
กระบวนการที่ sperm เข้าไปผสมในรังไข่ แล้วเกิดเซลล์ใหม่ เรียกว่า zygote ซึ่งจะเกิดขึ้นบริเวณ Ampulla ของท่อนำไข่ spermเจาะผ่านชั้น zona pellucida
ภายหลังการปฏิสนธิ
มีการแบ่งตัวเพิ่มของจำนวนเซลล์และพัฒนาเป็นอวัยวะแลัระบบต่างๆ ของทารกในครรภ์
ครบกำหนดใช้เวลาประมาณ 266 วัน/38 สัปดาห์ นับจากการปฏิสนธิ หรือ 280 วัน = 40 wk นับจากประจำเดือนครั้งสุดท้าย
พัฒนาการของทารกในครรภ์
ระยะก่อนตัวอ่อน (pre-embryonic period)
สัปดาห์ที่ 1-2 Blastocyst แบ่งเป็น 2 ส่วน
Trophoblast เซลล์ชั้นนอกพัฒนาเป็นรก
Inner cell mass เซลล์ชั้นในพัฒนาเป็นตัวอ่อน
สัปดาห์ที่ 2
Blastocyst ฝังตัวที่ Endometrium ส่วนบนของมดลูก Trophoblast จะแทรกซึมเข้าไปใน Endometrium เรียกชื่อ Endometrium ใหม่เป็น Decidua
ระยะตัวอ่อน (embryonic period)
สัปดาห์ที่ 3-8
เป็นระยะที่สำคัญที่สุดในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์และการพัฒนา Germ layer 3 ชั้น
Ectoderm : ระบบประสาท เส้นประสาท สมอง (ส่วนหนึ่่งไปเยื่อหุ้มทารก)
Mesoderm : กระดูก กล้ามเนื้อ หัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจ
Endoderm : เยื่อบุลำไส้ เยื่อบุทางเดินอาหาร เริ่มมีหัวใจตอนจบ week 3
สัปดาห์ที่ 4
ตัวอ่อนโค้งเป็นรูปตัว C 4-5 mm. (C shaped curue) มีท่อประสาทกระดูกสันหลัง กล้ามเนื้อ
สัปดาห์ที่ 5
เจริญขึ้นเฉพาะหัว 7-8 mm. ,มีcranial nerve 5 คู่, นิ้ว
สัปดาห์ที่ 6
ตัวอ่อน 12mm. ,หนัก 1,200 mg , อวัยวะชัดเจน ,หัวใจแบ่งห้องแล้ว
สัปดาห์ที่ 8
ตัวอ่อน 2.5-4 cm, หนัก 2 gm ,อวัยวะครบ
ระยะทารก (fetal period)
สัปดาห์ที่ 9-38 อวัยวะเริ่มทำงานได้
สัปดาห์ที่ 9-12
แยกเพศได้
สัปดาห์ที่ 13-16
เริ่มสร้างขนอ่อน, แยกเพศได้ชัดเจน ,ลำไส้เริ่มมีขี้เทา
สัปดาห์ที่ 17-20
ส่งถ่ายภูมิคุ้มกัน lgG, แม่รู้สึดถึงการเคลื่อนไหวของลูก,ฟังเสียงหัวใจได้
สัปดาห์ที่ 21-24
ระบบประสาทการได้ยิน
สัปดาห์ที่ 25-28
ระบบประสทสมบูรณ์,ลูกตาเปิด-ปิดได้
สัปดาห์ที่ 29-32
ระบบประสาทส่วนการเจริญเติบโต
สัปดาห์ที่ 33-36
ปอดสมบูรณ์มากขึ้น
สัปดาห์ที่ 37
เล็บยาวพ้นปลายนิ้ว,หัวใจเต้น 120-160 bmp
รก
ระบบไหลเวียน
เเลกเปลี่ยนทาง Plancental membrain โดยเลือด Intervillous space
แลกเปลี่ยน villi ได้เลือดลูก
หน้าที่
Nutrition แลกเปลี่ยนสารอาหารและน้ำมาให้ทารก
Respiration (Hemoglobin ลูก (HpF) รับออกซิเจนจาก (HpF) แม่)
Excretory ถ่ายของเสียผ่านเส้นเลือดเเม่
Immunology ในรูป gamma globulin : lgG ให้ภูมิคุ้มกัน ซึ่งจะส่งจากแม่ไปยังทารก
สร้างHormones hcg, Estrogen,progesterone
Placenta barrier เชื้อโรคบ้างชนิดไม่สามารถผ่านเข่าไปยังทารกได้
น้ำคร่ำ
ซึมจากกระแสเลือด/serum ของแม่
ปัสสาวะของทารกเอง
PH 7.11-7.22 ค่า 1,000-1,200 cc
หน้าที่
เคลื่อนไหว,รักษา temp,ปกป้อง,ขยายปากมดลูก+หล่อลื่น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
อายู
น้อยกว่า 19 ปี มีภาวะโลหิตจาง การแท้งบุตรตลอดจนการตลอดก่อนกำหนด
น้อยกว่า 16 ปี การเจริญเติบโตยังไม่เต็มที่ -CPD
มากกว่า 35 ปี ทารกมีโอกาสพิการแต่กำหนดสูงขึ้น เช่น Down syndrome
น้ำหนักตัว
มากว่า 35 Kg ก่อนท้อง , 7 Kg หลังท้อง = แมาทุพโภชนาการ
ส่วนสูง
น้อยกว่า 145 cm. CPD
สารพิษ,สิ่งแวดล้อม
ความรู้
เศรษฐกิจ/สังคม
อาชีพ
พันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส
จำนวนครั้งในการตั้งครรภ์
ระยะห่างการตั้งครรภ์ : อย่างน้อย 2 ปี
ความเจ็บป่วยตอนท้อง
ขาด folic : neural tube defect
ความเชื่อ
พฤติกรรม เช่น การสูบบุหรี สุรา ยาบำรุง
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในระยะตั้งครรภ์
Pituitary
Growth H. ไตรมาสแรกต้องการ insulin มากขึ้น
Prolactin สร้างน้ำนม ไตรมาส 2
Oxytocin มดลูกหดตัว,ฮอร์โมนแห่งความรัก
รก
hCG สูงมาก 2 เดือนแรก หลัง7-10 week ผลิต progesterone
Estrogen 6-12 week สูง หลังคลอดลดลง prolactin ทำงานได้
Progesterone
ระบบสืบพันธ์ุ
ไข่ไม่ตก ไม่มีประจำเดือน Hegar's sign : มดลูกนุ่ม ปากมดลูกมี plug
Straie gravidarum จาก cortison
Breast
หัวนมคล้ำ พบ montgomery's tubercle
หัวใจ
ใหญ่ขึ้น, CO+30-50%, 20 week HR+10-15 bmp.ไตรมาส 3 ไม่นอนราบ มี varicose vein
Thyoid gland โตขึ้น
Physoiological Anemia
plama เพิ่มเร็ว , RBC เพิ่มช้า,Hb : มากกว่าเท่ากับ 11g gm/dl , Hctมากกว่าเท่ากับ 33%
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมและการดูแลด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
ด้านอารมณ์
ไตมาส 1 ลังเลใจ, ตื่นเต้น, อารมณ์แปรปรวน
ไตรมาส 2 เริ่มยอมรับการตั้งครรภ์มากขึ้น
ไตรมาส 3 Stress : กลัว มีความไม่สุขสบาย เครียดระดับปานกลาง
ด้านภาพลักษณ์
ไตมาส 1 ร่างกายภายนอกยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน
ไตมาส 2 มดลูกขยายเริ่มเห็นได้ชัดเจน , รับรู้ภาพลักษณ์ตนเอง
ไตรมาส 3 ร่างกายเปลี่ยนแปลงมากขึ้น
ด้านเพศสัมันธ์
ไตรมาส 1 มีความลังเล คลื่นไส้อาเจียน ความรู้สึกทางเพศลดลง
ไตรมาส 2 โลกหิตมาเลี้ยงที่บริเวณุ้มเชิงกรานมากขึ้น
ไตรมาส 3 อึดอัด ไม่พอใจในรูปร่าง กลัวอันตรายต่อทารกในครรภ์
จิตสังคม
ไตรมาส 1 ลังเลใจ คิดถึงแต่ตนเอง
ไตรมาส 2 สนใจทารกในครรภ์เป็นหลัก
ไตรมาส 3 พึ่งพาผู้อื่นสูงขึ้น เตรียมตัวเพื่อคลอด
การส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
เพื่อให้มารดา-ทารกสุขภาพแข็งแรง
ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ลดอัตราการเจ็บป่วย/ตายของมารดาและทารก
ทารกน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
วิธีการ
ให้ความรู้
จัดสอนโรงเรียนพ่อแม่
โรงเรียนพ่อแม่ 1
วันที่ฝากครรภ์ ANC ครั้งแรก
โรงเรียนพ่อแม่ 2
สำหรับอายุครรภ์อ่อน < 28 week
โรงเรียนพ่อแม่ 3
สำหรับอายุครรภ์แก่ >/= 28 week
โรงเรียนพ่อแม่ 4
สำหรับอายุครรภ์ 36 สัปดาห์ขึ้นไป
ควนสอน 3-4 classes
อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ รายไตรมาส
ไตรมาส 1 รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ไตรมาส 2 ควรเน้นสารอาหาร ธาตุเหล็ก รวามทั้งวิตามินต่างๆ
ไตรมาส 3 ควรเน้นโปรตีนจากเนื้อสัตว์ ไข่ และถั่วต่างๆ
การเตรียมตัวเพื่อการคลอดและการเตรียมบทบาทการเป็นบิดา มารดา / การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบิดา-มารดา-ทารกในระยะตั้งครรภ์
วิธี 3 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 การให้ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด
ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย
ท่าTailor sitting ท่า Squatting
กล้ามเนื้อในอุ้มเชิงกรานและหน้าท้องแข็งเเรงช่วยความไม่สุขสบายในระยะตั้งครรภ์แลักล้ามเนื้อฝีเย็บยืดขยายขณะคลอดและกลีบคืนสู่สภาพปกติหลังคลอดได้ดี
ขั้นตอนที่ 3 การจัดการกับความเจ็บปวดในระยะคลอด
การฝึกการผ่อนคลาย
การฝึกควบคุมการหายใจ
การควบคุมการหายใจด้วยตนเอง
การบรรเทาความเจ็บปวดตามทฤษฎี
สัมพันธภาพหรือกรสัมผัสปฏิกิริยา แสดงออกมาในทางบวก รู้สึกผูกพัน
ความรักใคร่ผูกพัน เมื่อได้มีการสัมผัสเกิดขึ้นทันทีหรือหลังคลอดบุตรแล้ว
การประเมินภาวะสุขภาพมารดา-ทารก และการคัดกรอง
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย/การตรวจครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการแปรผล
การคัดกรองภาวะเสี่ยง
การนัดตรวจติดตาม
การให้ภูมิคุ้มกัน
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
วิธีการ
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย ตรวจภายใน
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตวรจด้วย ultrasound
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
Presumptive signs 50%
การขาดประจำเดือน
อาการเเพ้ท้อง คลื่นไส้อาเจียน
การเปลี่ยนแปลงของเต้านม
การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง
ปัสสาวะบ่อย
อ่อนเพลีย
รู้สึกเด็กดิ้น
Probable signs 75%
ขนาดท้องใหญ่ขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของมดลูกและปากมดลูก
การหดรัดตัวของมดลูก
การขยับคลอนทารก
คลำขอบเขตตัวทารกได้
การทดสอบการตั้งครรภ์
Positive signs 100%
ตรวจได้ยินเสีงหัวใจ
เห็นการเคลื่อนหวของทากและคลำส่วนต่างๆ ของทารกได้
เห็นทารกจากการตรวจด้วยตลื่นเสียงความถี่สูง
ตรวจพบจากการถ่ายภาพรังสีเห็นกระดูก-ไม่นิยม-รังสี
การกระตุ้นพัฒนาการของทารกในครรภ์
พัฒนาการด้วยการสัมผัส
เป็นการกระตุ้นเซลล์ประสาทรับความรู้สึกให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
อายุครรภ์ 5 เดือนขึ้นไป การนั่งบนเก้าอี้โยกเอนไปหน้า-หลัง-การทรงตัว
ใช้ความร้อน ความเย็น ใกล้คลอด
พัฒนาการด้านการได้ยิน
ทารกเริ่มได้ยินอายุครรภ์ 24 week แต่ยังไม่สามารถจำแนกเสียงได้
35 week จึงจะแยกเสียงสูงต่ำได้
พัฒนาการด้านการมองเห็น
สามารถลืมตาและมองเห็นสิ่งต่างๆ ในมดลูกได้
อายุครรภ์ 28 week ขึ้นไป
วิธีกระตุ้น ทำได้โดย ใช้เเสงแดด แสงไฟ หรือไฟฉาย
การพยาบาล
ภาวะไม่สุขสบายของหญิงตั้งครรภ์
คลื่นไส้อาเจียนหรือแพ้ท้อง
รับประทานขนมปังกรอบร่วมกับน้ำหรือนมอุ่นๆ หลังตื่นนอน
ปัสสาวะบ่อย
มดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้นทำให้กดเบียดกระเพาะปัสสาวะและท่อไต
ตกขาว
การดูแลบริเวณช่องคลอดให้แห้งสะอาดอยู่เสมอ
น้ำลายออกมาก
อาหารที่ดูดซับน้ำลาย อมลูกอมที่ช่วยให้การกลืนน้ำลายง่าย
อยากกินของแปลก
สาเหตุไม่แน่ชัด
คัดตึงเต้านม
การอาบน้ำอุ่นจะช่วยบรรเทาอาการได้
อ่อนเพลีย
สาเหตุไม่แน่ชัดอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน
คัดจมูก เลือดกาเดาออก
แนะนำให้สั่งน้ำมูกเบาๆ
คันผิวหนัง
การเเตกของผิวหนังในบริเวณที่มีการยืดขยาย เกิดอาการคัน
อาการแสบยอดอก
มดลูกที่มีขนาดใหญ๋เบียดกระเพาะอาหารทำให้อาหารและน้ำย่อยท้นขึ้นมาที่หลอดอาหาร
ท้องผูก
เกิดจาการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
ปวดหลัง
อาชีพ ลักษณะการทำงาน
ตะคริว
ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอและการไหลเวียนของเลือดไม่ดี
หายใจลำบาก
มดลูกขยายใหญ่ขึ้นไปดันกระบังลม