Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายครอบครัว, l, (๑) ฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้น มีข้อน่าสังเกตว่า…
กฎหมายครอบครัว
-
ความปกครอง
-
การสิ้นสุดแห่งความปกครอง
ความปกครองสิ้นสุดลงเมื่อผู้อยู่ในปกครองถึงแก่ความตายหรือผู้เยาว์ได้บรรลุนิติภาวะแล้ว นอกจากนี้ยังรวมถึงผู้อยู่ในปกครองถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถและศาลตั้งผู้อนุบาลให้แล้ว ความปกครองก็ย่อมสิ้นสุดด้วย เนื่องจากจะตกแก่ผู้อนุบาลแทน
-
-
-
บุตรบุญธรรม
อายุความ
ห้ามมิให้ฟ้องขอเลิกการรับบุตรบุญธรรมเมื่อพ้นกำหนด ๑ ปี นับแต่วันที่ผู้ขอเลิกการรับบุตรบุญธรรมรู้หรือควรได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุให้เลิกการนั้น หรือเมื่อพ้นกำหนด ๑๐ ปีนับแต่เหตุนั้นเกิดขึ้น มิฉะนั้นคดีขาดอายุความ
การเลิกรับบุตรบุญธรรม
๑. การเลิกรับบุตรบุญธรรมกันเอง (มาตรา ๑๕๙๘/๓๑) ๑.๑ ถ้าบุตรบุญธรรมบรรลุนิติภาวะแล้วจะเลิกโดยความตกลงกันในระหว่างผู้รับบุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมเมื่อใดก็ได้
๑.๒ ถ้าบุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะ การเลิกรับบุตรบุญธรรมจะทำได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของบิดาและมารดา และถ้าผู้เป็นบุตรบุญธรรมมีอายุไม่ต่ำกว่า ๑๕ ปี บุตรบุญธรรมนั้นต้องให้ความยินยอมด้วย
๒. เลิกเมื่อผู้รับบุตรบุญธรรมสมรสกับบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๓๒)
ข้อสังเกต เป็นการเลิกกันโดยผลของกฎหมาย จึงมีผลทันทีตั้งแต่วันที่บุคคลทั้งสองจดทะเบียนสมรสกันโดยไม่จำเป็นต้องมีการจดทะเบียนยกเลิกรับบุตรบุญธรรมกันอีก
-
-
ผลการเลิกรับบุตรบุญธรรม
๑. บุตรบุญธรรมกลับคืนสู่ครอบครัวเดิมของตน
๒. กรณีบุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะ บิดามารดาโดยกำเนิดก็กลับมีอำนาจปกครองบุตรนับตั้งแต่ผู้รับบุตรบุญธรรมตายหรือเวลาที่มีการจดทะเบียนเลิก หรือเวลาที่คำพิพากษาถึงที่สุด
บิดามารดากับบุตร
-
-
วิธีการฟ้องคดี
๑. ถ้าเด็กยังเป็นผู้เยาว์และมีอายุยังไม่ครบ ๑๕ ปีบริบูรณ์ ผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กซึ่งตามปกติก็คือมารดาเป็นผู้ฟ้องคดีแทนเด็ก
๒. ถ้าเด็กยังเป็นผู้เยาว์แต่มีอายุครบ ๑๕ ปีบริบูรณ์แล้ว เด็กฟ้องคดีเองได้ และไม่จำเป้นต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมแต่อย่างใด
๓. ถ้าเด็กบรรลุนิติภาวะแล้ว ไม่ว่าจะด้วยการสมรสหรือมีอายุครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์แล้ว ก็ฟ้องคดีเองได้แต่ต้องภายใน ๑ ปี นับแต่วันบรรลุนิติภาวะ
๔. ถ้าเด็กถึงแก่ความตายไปแล้ว / ผู้สืบสันดานของเด็กฟ้องขอให้รับเด็กเป็นบุตรได้ ถ้าผู้สืบสันดานก่อนวันที่เด็กตายจะต้องฟ้องคดีภายใน ๑ ปี นับแต่วันที่เด็กตาย แต่ถ้ารู้เหตุภายหลังที่เด็กตาย จะต้องฟ้องคดีภายใน ๑ ปี นับแต่วันที่รู้เหตุ แต่ทั้งนี้จะต้องไม่เกินกำหนด ๑๐ ปี นับแต่วันที่เด็กตาย
-
การสมรส
หลักเกณฑ์การสมรส มีอยู่ ๔ ประการ คือ
๑. คู่สมรสฝ่ายหนึ่งจะต้องเป็นชายอีกฝ่ายหนึ่งจะต้องเปินหญิง
๒. การสมรสจะต้องเป็นการกระทำโดยสมัครใจของชายและหญิง หากชายและหญิงสมรสกันโดยไม่ได้เกิดจากความยินยอมสมรสกัน การสมรสนั้นเป็นโมฆะ
๓. การอยู่กินด้วยกันฉันสามีภรรยาจะต้องเป็นระยะเวลาชั่วชีวิต
๔. การสมรสจะต้องมีคู่สมรสเพียงคนเดียว
-
แบบของการสมรส
การสมรสจะมีได้เฉพาะเมื่อได้จดทะเบียนสมรสแล้วเท่านั้น เมื่อได้จดทะเบียนสมรสกันแล้วก็เป็นสามีภรรยากันตามกฎหมายทันทีตามมาตรา ๑๔๕๗
การหมั้น
เงื่อนไขเเห่งการหมั้น
๑. อายุของคู่หมั้น (มาตรา ๑๔๓๕) ชายและหญิงคู่หมั้นต้องมีอายุอ ๑๗ ปีบริบูรณ์ หากฝ่าฝืนตกเป็นโมฆะ
๒. ได้รับความยินยอมทั้งบิดาและมารดาแม้บิดามารดาจะแยกกันอยู่ก็ตาม หรือผู้ปกครอง (มาตรา ๑๔๓๖) การหมั้นที่ผู้เยาว์ทำโดยปราศจากความยินยอมของบุคคลดังกล่าวเป็นโมฆียะ
-
ความสัมพันธ์ระหว่างสามี
ความสัมพันธ์ในทางส่วนตัว
สามีต้องอยู่กินด้วยกันฉันมีเเละภริยาเเละช่วยเหลืออุปการะเลี่ยงดู(มีหน้าที่ปฎิบัติหน้าที่ในฐานะครอยครัวให้ดํารงอยู่ด้วยความผาสุกในการดํารงชีพ) ตามมาตรา 1461
กรณีเเยกกันอยู่ชั่วคราว
สามีภรรยาต่างฝ่ายต่างหมดหน้าที่จะต้องอยู่ด้วยกันฉันสามีภริยาต่อไป แต่สถานะสามีภริยายังคงมีอยู่ยังไม่ถือว่าการสมรสสิ้นสุดลง
๒) ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้แยกกันอยู่ต่างหากเป้นการชั่วคราว เหตุที่จะฟ้องขอให้ศาลอนุญาตให้แยกกันอยู่ชั่วคราว มี ๔ กรณี คือ
- สามีภริยา ไม่สามารถที่จะอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยาโดยปกติสุข
2.อยู่ร่วมกันจะเป็นอันตรายแก่กายอย่างมากของสามีหรือภริยา
3.อยู่ร่วมกันจะเป็นอันตรายแก่จิตใจอย่างมากของสามีหรือภริยา
4.อยู่ร่วมกันจะเป็นการทำลายความผาสุกอย่างมากของสามีหรือภริยา
-
-
-
-
(๑) ฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้น มีข้อน่าสังเกตว่า ศาลมีอำนาจที่จะชี้ขาดว่าของหมั้นที่ตกเป็นสิทธิแก่หญิงนั้นเป็นค่าทดแทนทั้งหมดหรือจะให้เป้นส่วนหนึ่งของค่าทดแทน หรือศาลอาจให้ค่าทดแทนแก่หญิงทั้งหมดโดยไม่คำนึงถึงของหมั้นที่ตกเป็นสิทธิแก่หญิงก็ได้ตามมาตรา ๑๔๔๐ วรรคท้าย