Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus : DM) - Coggle Diagram
โรคเบาหวาน
(Diabetes Mellitus : DM)
ประเภทของโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานชนิดที่1 (Type 1 Diabetes)
โรคเบาหานชนิดที่เกิดจากการทำลายเบตาเซลล์ของตับอ่อน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจาก Autoimmune ส่วนน้อยจะไม่รู้สาเหตุ โรคเบาหวานชนิดนี้มีแนวโน้มการเกิด Ketoacidosis ได้
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 Diabetes)
โรคเบาหวานที่เกิดจากภาวะดื้ออินซูลินร่วมกับความผิดปกติในการหลั่งอินซูลินของตับอ่อน ซึ่งเป็นโรคเบาหวานที่พบได้บ่อยที่สุด
โรคเบาหวานที่ตรวจพบขณะที่ตั้งครรภ์(Gestational Diabetes Mellitus :GDM )
ภาวะcarbohydrate intolerance ที่ตรวจพบเป็นระหว่างการตั้งครรภ์ มีโอการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ภายหลังได้
โรคเบาหวานชนิดอื่นๆ
เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมการทำงานของเบต้าเซลล์, การออกฤทธิ์ของอินซูลิน โรคของตับอ่อน โรคของต่อมไร้ท่อ ยา สารเคมี เป็นต้น
ความหมาย
กลุ่มโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเมตะบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตซึ่งก่อให้เกิดระดับน้ำตาลในเลือดสูงอันเป็นผลมาจากความผิดปกติในการหลั่งอินซูลินหรือประสิทธิภาพของอินซูลินลดลงจากภาวะดื้อต่ออินซูลินหรือทั้ง2อย่าง
พยาธิสภาพของการเกิดโรคเบาหวาน
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มักพบว่ามีความผิดปกติที่ตัวรับ (Receptor site) ของเซลล์ ที่เรียกว่าภาวะดื้ออินซูลิน ทำให้ร่างกายไม่สามารถดึงน้ำตาลกลูโคสไปใช้ได้ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ขณะเดียวกัน ร่างกายจะปรับให้อยู่ในภาวะที่มีอินชูลินในเลือดสูงมาก (Hyperinsulinemia) ซึ่งจะส่งผลให้ B-cellของตับอ่อนไม่สามารถผลิ้ตอินชูลินในระดับปกติได้ ในระยะต่อมา จึงมีอินซูลินน้อยลง เมื่ออินซูลินน้อยกลูคากอนจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติ ซึ่งจะมีผลไปเร่งการสลายกลัยโคเจนที่ตับ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดยิ่งสูงขึ้น จนเมื่อมากเกินขีดกักกั้นของไต (Renal threshold)น้ำตาลจะถูกขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะ
ในขณะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงมาก แต่เซลล์ร่างกายอยู่ในภาวะขาดน้ำตาลกลูโคส (ไม่มีพลังงาน) ความเข้มข้นในเลือดที่สูงขึ้น ทำให้น้ำจากเซลล์ถูกดึงเข้ามาในกระแสเลือด ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการปัสสาวะมากและกระหายน้ำ ร่างกายอ่อนเพลีย เชลล์ร่างกายส่งสัญญาณให้ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ตรงกันข้ามกับอินซูลิน สลายโปรตีนและไขมัน เพื่อให้ได้น้ำตาลกลูโคสไปใช้ที่ระดับเซลล์ ในระยะนี้จะพบว่าผู้ป่วยเบาหวานเริ่มมีน้ำหนักลด และตรวจพบสารคีโตนในปัสสาวะจากการสลายไขมัน ถ้าหากไม่ได้รับการแก้ไข ผู้ป่วยก็จะเข้าสู่ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากที่เรียกว่า Hyperglycemia จนกระทั่งอาจเกิดภาวะที่เรียกว่า Diabetic ketoacidosis ได้
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนที่มีผลต่อวัยวะ
เท้า
การดูแลเท้า(Foot)
เน้นความสำคัญเรื่องการคุมอาหาร การดูแลทำความสภาวะผิวหนัง
ในความสะอาด ความชุ่มชื้น
หลีกเลี่ยงการกระทบกระแทก การบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุที่จะมีผลต่อผิวหนัง โดยเฉพาะเท้าและขา
สวมใส่ถุงเท้ารองเท้าที่มีขนาดพอเหมาะ
ปลายประสาทเสื่อม(Neropathy)
อาการนี้จะเกิดขึ้นกับเส้นประสาทที่ทำหน้าที่รับความรู้สึก เส้นประสาทควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ และเส้นประสาทในระบบประสาทอัตโนมัติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 1 : มีการติดเชื้อที่บริเวณฝ่าเท้าขวา
วัตถุประสงค์
เพื่อลดการติดเชื้อที่แผลบริเวณฝ่าเท้าขวา
เพื่อลดอาการบวม แดง ร้อน บริเวณรอบๆแผล
ข้อมูสนับสนุน
S: - ผู้ป่วยบอกว่า “เป็นแผลบริเวณนี้มาเป็นเวลา 2 อาทิตย์”
O: - แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น infected DM foot
O: - แผลมี discharge เป็นเลือดซึม
O: - รอบๆแผลมีอาการบวม แดง ร้อน
วิเคราะห์ปัญหา : ผู้ป่วยมีแผลบริเวณฝ่าเท้าด้านขวา แพทย์วินิจฉัยเป็น Infected DM foot
ไต
ตา
สมอง
หัวใจ
Hypoglycemia
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ความหมาย
ภาวะที่มีระดับกลูโคสในเลือดต่ำกว่าปกติซึ่งมักพบได้ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 มากกว่าชนิดที่ 2 ในผู้ป่วยเบาหวานจะพบภาวะ Hypoglycemia ในรายที่ได้รับการรักษาด้วยยาลดระดับน้ำตาลในเลืดอทั้งชนิดทานและชนิดฉีด
พยาธิสภาพ
ในคนปกติ เมื่อกลูโคสในเลือดลดต่ำลงจะมีอินซูลินหลั่งน้อยลง และกระตุ้นให้ฮอร์โมน4ชนิดหลั่งเพิ่มขึ้น คือ อินซูลิน กลูคากอน อิพิเนฟริน คอร์ติซอล และโกรว์ธฮอร์โมน เพื่อเพิ่มระดับกลูโคสสลับกันไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อควบคุมให้กูสโคสอยู่ในช่วงปกติแต่ในผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับยารักษาเบาหวานมากเกินไป โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่1
อินซูลินที่ได้รับมากเกินไป
ยับยังการหลั่ง counter-regulatory hormones
ยับยั้งขบวนการ glycogenolysisและgluconeogenesis ทำให้ไม่สามารถสังเคราะห์กลูโคสในร่างกายได้
อินซูลินส่งเสริมให้กลูโคสเข้าสู่เซลล์หรือทำให้เซลล์ใช้กลูโคสมากขึ้น และเก็บสะสมกลูโคสไว้ในรูปของไขมัน และ glycogen ด้วยยิ่งทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำลงมากขึ้น
สาเหตุ
Critical Organ failure
Hepatic failure และเนื้อตับถูกทำลายมากกว่าร้อยละ 80
Renal failure
Cardiac failure
ได้รับยารักษาโรคเบาหวาน
ยาเม็ดรับประทานลดระดับน้ำตาลในเลือดกลุ่ม sulfonylurea
ยาฉีดอินซูลิน
อินซูลินออกฤทธิ์เร็ว (Repid-acting insulin)
อินซูลินปกติ (Regular insulin)
อินซูลินออกฤทธิ์ระยะปานกลาง(Intermediate-acting insulin)
อินซูลินออกฤทธิ์ระยะยาว(Long-acting insulin)
การขาดฮอร์โมน(hormone deficiency)
ผลการตรวจร่างกาย
LAB
BUN , Electrolytes
GFR : 20.43 ml/min/1.73mm
BUN : 50 mg/dl
Sodium : 127 mmol/l
CO2 ::18.8 mmol/l
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 4 : ร่างกายขาดสมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์ (Fluid&Electrolyte imbalance )
ข้อมูสนับสนุน
S: - ผู้ป่วยบอกว่า “รับประทานอาหารได้มากขึ้นจากเดิม”
O: - sodium = 127 mmol/l
O: - CO2 =18.8 mmol/l
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยได้รับน้ำและอิเล็กโทรไลต์เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
วิเคราะห์ปัญหา : เนื่องจากผู้ป่วยรับประทานอาหารได้มากขึ้นจากเดิม แต่ผลการตรวจพบทางห้องปฏิบัติการยังมีค่าที่ผิดปกติ
Creatinine : 3.12 mg/dl
U/A
UA RBC :: 3-5 :cell/HFP
Color : yellow
Protein : positive 2+
อาการและอาการแสดง
อาการที่เกิดจากautomatic symptoms หรือneurogenic symptoms
อาการที่เกิดจาก Epinephrine และ norepinephrine หรืออาการ adrenergic symptoms
มือสั่น
ตัวสั่น
หัวใจเต้นแรง
หงุดหงิดกระวนกระวาย
อาการที่เกิดจาก acetylcholine หรืออาการ cholinergic symptoms
อาการเหงื่อออก
ชาตามตัว
หิว
อาการที่เกิดจากสมองขาดกลูโคส
ไม่มีแรง
ซึม
อ่อนเพลีย
หมดสติ
อาการสำคัญ
CC: 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการซึม หมดสติ อ่อนแรง
PI: 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ญาติให้ประวัติว่าผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยลง 5ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลญาติพบผู้ป่วย ซึม หมดสติ ญาติจึงโทร 1669 เพื่อนำตัวส่งโรงพยาบาล แพร่
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 2 : เสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ เนื่องจากขาดความรู้ในการจัดการกับโรคเบาหวาน
ข้อมูลสนับสนุน
3 more items...
วิเคราะห์ปัญหา : ผู้ป่วยและญาติขาดความรู้ในการจัดการกับโรคเบาหวาน ทำให้ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะ Hypoglycemia
วัตถุประสงค์
1 more item...
At scene : E4V1M4 ,DTX 39 mg% >>>50% glucose IV push ,10% DN2 1,000 ml IV >>> E4V5M6
At ER : รู้สึกตัวดี E4V5M6
Hyperglycemia
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
พยาธิสภาพ
เกิดจากการขาดอินซูลิน อาการไม่รุนแรงเท่า DKA ไม่มีการสลายไขมัน ทำให้ไม่เกิดการคั่งของสารคีโตน (Ketosis) แต่ตับมีการสร้างกลูโคสจากกลูคากอน ทำให้มีกลูโคสเข้าสู่หลอดเลือดมากและเร็ว เกิดภาวะ Osmotic diuresis ระยะนี้ผู้ป่วยจะถ่ายปัสสาวะม่อยและมาก ทำให้ร่างกายขาดน้ำ (dehydration)มีผลให้ความเข้มข้นของน้ำตาลในหลอดเลือดยิ่งสูงมาก (hyperglycemnia) น้ำจะถูกดึงออกจากเชลล์ และช่องว่างระหว่างเซลล์เข้าสู่หลอดเลือด ทำให้เชลล์ขาดน้ำอย่างรุนแรง (Severe cellular dehydration) มีผลให้ผู้ป่วยกระหายน้ำอย่างมาก ในระยะนี้การดื่มน้ำชดเชย ช่วยยืดระยะความรุนแรงออกไปได้ ในทางตรงข้ามหากปล่อยไว้ จะเกิดภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรงต่อเซลล์ทั่วร่างกาย สมองจะทำให้การทำงานเสื่อมลงถึงชั้นหมดสติและเสียชีวิตได้ และการขาดน้ำยังทำให้การไหลเวียนเลือดช้าลง ทำให้ผู้ป่วยมีความดันโลหิตต่ำลง เกิดภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและเสียชีวิตในที่สุด
ความหมาย
เป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นจากการขาดอินซูลิน ทำให้มีกูลโคศและ Osmolarity ในเลือดสูงมากแต่ไม่มีภาวะกรดจากสารคีโตน ส่วนใหญ่กลุ่มอาการนี้ พบได้ในผู้ป่วยเบหวานชนิดที่2 ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1 พบได้แต่น้อยมาก
สาเหตุ
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี
ความเครียดต่อร่างกาย
ยาบางชนิด
การได้รับอาหารที่ให้พลังงานมากเกินไป
อาการและอาการแสดง
ง่วง
ซึม
หลับ
กระหายน้ำมาก
ปัสสาวะบ่อย
ชัก
หมดสติ
หายใจเร็ว
ผลการตรวจร่างกาย
DTX
07:00 น. = 240mg%
11:00 น. = 275 mg :%
15:00 น. = 334mg%
ข้อวินิจทางการพยาบาลข้อที่ 3 มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เนื่องจากขาดความรู้และพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน
วิเคราะห์ปัญหา : เนื่องจากผู้ป่วยรับประทานอาหารได้มากขึ้นจากเดิม แต่ผลการตรวจพบทางห้องปฏิบัติการยังมีค่าที่ผิดปกติ
วัตถุประสงค์
เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
เพื่อให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายที่เหมาสมกับโรคเบาหวาน
ข้อมูลสนับสนุน
S: - ผู้ป่วยบอกว่า “เวลารู้สึกเพลียจะดื่มน้ำหวาน รับประทานอาหารได้น้อย ไม่ได้ออกกำลังกาย”
O: - DTX เวลา 07:00 น. = 240mg%
O: - DTX เวลา 11:00 น. = 275 mg%
O: - DTX เวลา 15:00 น. = 334mg%