Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กชายไทย อายุ7ปี Aplastic Anemia - Coggle Diagram
เด็กชายไทย อายุ7ปี
Aplastic Anemia
Aplastic Anemia (โลหิตจางจากไขกระดูกฝ่อ) เป็นภาวะผิดปกติที่ไขกระดูกผลิตเซลล์เม็ดเลือดต่าง ๆ ได้ไม่เพียงพอ ทั้งเซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติต่าง ๆ เช่น อาการอ่อนเพลีย เลือดออกง่าย หรือเกิดการติดเชื้อบ่อย เป็นต้น
สาเหตุของ Aplastic Anemia
โดยปกติ ไขกระดูกจะมีหน้าที่ผลิตเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนต่าง ๆ ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด แต่ในผู้ป่วย Aplastic Anemia ไขกระดูกจะทำงานผิดปกติไป เนื่องจากไขกระดูกเกิดความเสียหายหรือฝ่อ ส่งผลให้ไม่สามารถผลิตเซลล์เม็ดเลือดต่าง ๆ ได้
โดยส่วนใหญ่ แพทย์มักหาสาเหตุที่ส่งผลให้ไขกระดูกเสียหายไม่พบ แต่ในบางกรณี ภาวะดังกล่าวอาจเป็นผลมาจากปัจจัยบางอย่าง เช่น ภูมิคุ้มกันในร่างกายทำงานผิดปกติ โดยการไปทำลายสเต็มเซลล์ในไขกระดูกประวัติการรักษาโรคมะเร็งด้วยการทำเคมีบำบัด (Chemotherapy) หรือรังสีรักษา (Radiation Therapy)
ประวัติการเกี่ยวข้องกับสารเคมีบางชนิด เช่น ยากำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง หรือน้ำมันเบนซิน เป็นต้น
การติดเชื้อไวรัส เช่น เชื้อไวรัสตับอักเสบ (Hepatitis) เชื้อไวรัสเอ็บสไตบาร์ (Epstein–Barr) เชื้อไวรัสไซโตเมกาโลไวรัส (Cytomegalovirus) เชื้อพาร์โวไวรัส บี 19 (Parvovirus B19) หรือเชื้อไวรัสเอชไอวี
การตั้งครรภ์ ในระหว่างตั้งครรภ์ บางคนอาจพบว่าภูมิคุ้มกันในร่างกายทำงานผิดปกติ โดยการไปทำลายไขกระดูก แต่โดยส่วนใหญ่อาการมักหายได้เองหลังคลอดบุตร
ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด เช่น ยารักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ หรือยาปฏิชีวนะบางชนิด เป็นต้น
โรคทางพันธุกรรม เช่น กลุ่มอาการแฟนโคนี (Fanconi Syndrome) หรือกลุ่มอาการ Shwachman Diamond
Aplastic Anemia อาจเป็นผลมาจากโรคทางระบบโลหิตที่ส่งผลให้เซลล์เม็ดเลือดแดงในร่างกายของผู้ป่วยถูกทำลาย อย่างโรค Paroxysmal Nocturnal Hemoglobinuria (PNH) แต่เป็นกรณีที่พบได้น้อย
อาการของ Aplastic Anemia
ในช่วงแรก ผู้ที่ป่วยเป็น Aplastic Anemia อาจไม่มีอาการใด ๆ แต่จะค่อย ๆ แสดงอาการออกในภายหลังตามชนิดเซลล์เม็ดเลือดในร่างกายที่เกิดความผิดปกติ โดยอาจเกิดเพียงชั่วคราวหรือเรื้อรัง
ข้อมูลสนับสนุน
S: ญาติแจ้งว่ามีเลือดออกที่กระพุ้งแก้ม และมีรอยจุดจ้ำเลือดตามผิวหนังที่แขน ขา
O: HB 8.8 g/dL (23/8/66)
O: Hct 24.1% (23/8/66)
O: Platelet 63,000 uL (23/8/66)
DNX.1 มีภาวะเลือดออกง่ายหยุดยากเนื่องจากกลไกการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันภาวะ Bleeding
การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินภาวะเลือดออก
2.Obs V/S และระดับความรู้สึกตัว
3.ดูแลให้ปลอดภัยจากสิ่งที่จะทำให้เกิดการ Bleeding
4.ระมัดระวังเรื่องการให้้ยา หรือสารน้ำ การเจาะ
เลือด ฉีดยา ไม่ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ เพราะจะทำให้
เกิดก้อนเลือดใต้ผิวหนังได้ การเจาะเลือด ฉีดยา
เข้าเส้นจะต้องพิจารณา หาเส้นเลือดให้เหมาะสม
หลังเจาะเลือดหรือฉีดยาเข้าเส้นจะต้องกดให้นาน
จนกว่าเลือดหยุดไหล
หลีกเลี่ยงอาหารที่ต้องฉีกเคี้ยว
ติดตามประเมินผลการตรวจเลือด
ติดตามค่า Hematocritและ PLT เป็นระยะๆ เพื่อประเมินแนวโน้มการมีเลือดออก
การประเมินผลการพยาบาล
ปัจจุบันนั้นผู้ป่วยยังคงมีจ้ำเลือดตามผิวอยู่และได้รับ LPPC จากPlatelet 3,000 uL เพิ่มเป็น Platelet 63,000 uL ยังคงต้องติดตามภาวะเลือดออกง่านหยุดยาก (23/8/66)
เสี่ยงพร่องออกซิเจน
ข้อมูลสนับสนุน
O: เยื่อบุตาซีดเล็กน้อย
O: HB 8.8 g/dL (23/8/66)
O: Hct 24.1% (23/8/66)
DNX.2 เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากภาวะซีด
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เนื้อเยื่อในร่างกาย
ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
การปฏิบัติการพยาบาล
1.ประเมินอาการพร่องจออกซิเจน เช่น ผิวหนังซีด
หรือเป็นสีเขียวคล้ำ
ลดการใช้ออกซิเจนของผู้ป่วย
จัดท่านอนศรีษะสูง
ติดตาม V/S
ให้เลือดตามแผนการรักษา
ประเมินผลค่าฮีมาโตคริต หลังให้เลือดประเมินสีผิว และความแข็งแรงของผู้ป่วย รวมถึง ประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง การ
ทำกิจกรรม
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยนั้นไม่มีอาการหอบเหนื่อยยังคงสามารถทำกิจกรรมได้ปกติยังคงต้อง Obs อาการเพิ่มเติม
ติดเชื้อ
ข้อมูลสนับสนุน
O: T : 37.6 C (23/8/66)
O: WBC 2,100 uL(23/8/66)
O: มีเลือดออกที่ริมฝีปาก
DNX.3 เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อเนื่องจากกลไกการสร้างเม็ดเลือดขาวผิดปกติ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิดการติด
เชื้อหรือการติดเชื้อลดลง
การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินอาการแลอาการแÿดงของภาüะติดเชื้อ
OBS V/S เน้นไปที่ BT
จำกัดผู้เข้าเยี่ยม ผู้ที่เป็นหวัด ไอ ไม่ควรเข้า
เยี่ยม
ดูแลให้ยาลดไข้ตามแผลการรักษา
ให้การพยาบาลโดยใช้หลักปราศจากเชื้อล้างมือ
ก่อนและหลังให้
ติดตามผลตรüจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินผลการพยาบาล
ปัจจุบันผู้ป่วยนั้นผู้ป่วยไม่มีอาการของการติดเชื้อแต่ยังมีไข้เล็กน้อยเป็นบางครั้ง
วิตกกังวล
ข้อมูลสนับสนุน
S: ญาตินั้นมีการถามถึงวันที่ผู้ป่วยจะได้กลับบ้านและผู้ป่วยจะหายรึป่าวอยู่บ่อยครั้ง
O: สีหน้าของมารดามีความเครียด และพยายามทำสิ่งที่ทำได้ทุกอย่างให้ลูก
NDx. 4 มารดาวิตกกังวลเกี่ยวกับเรื่องเรียนของผู้ป่วยเนื่องจากเข้ารับการรักษานาน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้มารดาคลายความกังวล
การปฏิบัติการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพกับมารดาของผู้ป่วย
แสดงสีหน้าและท่าทางที่เป็นมิตรและเต็มใจในการรับฟังปัญหาของผู้ป่วยและครอบครัว
ประเมินความวิตกกังวลและท่าทีต่างๆที่
แสดงออกของมารดาและครอบครัว
เปิดโอกาสให้มารดาได้ระบายความรู้สึกที่ไม่
สบายใจ
เปรียบเทียบอาการวันแรกที่มาโรงพยาบาลและอาการปัจจุบันให้มารดารับทราบว่าบุตรดีขึ้นแล้ว
ตรวจเยี่ยม และสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของ
ผู้ป่วยเป็นระยะๆ
การประเมินผลการพยาบาล
มารดามีสีหน้าที่ยิ้มแย้มร่างเริงและดีใจเมื่อได้ยินว่าผู้ป่วยนั้นจะได้กลับไปพักที่บ้าน