Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารยาทชาวพุทธ - Coggle Diagram
มารยาทชาวพุทธ
การแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย
• พระรัตนตรัย หมายถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ขั้นตอนกราบพระรัตนตรัยมีดังนี้
• วิธีแสดงความเคารพพระรัตนตรัย คือ การกราบด้วยวิธีเบญจางคประดิษฐ์ เป็นการกราบด้วยอวัยวะทั้ง 5 ส่วน คือ มือ 2 เข่า 2 หน้าผาก 1
ชาย นั้งท่าเทพบุตรเข่ายันพื้นห่างกันพอสมควร ปลายเท้าตั้งชิดกัน นั้งทับส้นเท้า
หญิง นั่งท่าเทพธิดา เข่ายันพื้นในลักษณะชิดกันปลายเท้าราบไปกับพื้น หงายฝ่าเท้า นั่งทับส้นเท้า
จังหวะที่ 1 พนมมือระหว่างอก (อัญชลี)
จังหวะที่ 2 ยกมือไหว้ที่พนมขึ้นพร้อมกับก้มศีรษะลงเล็กน้อย นิ้วหัวแม่มือจดกลางหน้าผาก(ปลายนิ้วชี้จะสูงกว่าศีรษะ)(วันทา)
จังหวะที่ 3 การกราบ(อภิวาท)
1 .ก้มลงกราบโดยทอดศอกให้แขนทั้งสองข้างลงพื้นพร้อมกัน
2.คว่ำมือทั้งสองแบนราบกับพื้นให้นิ้วทั้ง 5 ชิดกันมือทั้งสองวางห่างกันเล็กน้อยพอให้หน้าผากจดพื้นในระหว่างมือทั้งสองข้างได้
3 .สำหรับผู้ชายต้องให้สอบต่อเข่าสำหรับผู้หญิงให้ศอกแนบเขาทั้งสอง
4 .ลุกนั่งในท่าคุกเข่าทำตามจังหวะทั้ง 3 ติดต่อไปจนครบ 3 ครั้งแล้วทรงตัวขึ้นยกมือพนมจดหน้าผากอีกครั้งหนึ่งเรียกว่าจบแล้วลดตัวนั่งในท่าปกติ
การแสดงความเคารพต่อปูชนียสถาน
ปูชนียสถาน หมายถึง สถานที่อันควรเคารพแสดงความเคารพสักการะซึ่งได้แก่ศาสนสถานโบสถ์วัด
วิธีการเคารพต่อปูชนียสถาน
1 ถ้าเป็นสถานที่ที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปมีพื้นที่เหมาะสมที่จะแสดงความเคารพได้อย่างสะดวกเช่นในโบสถ์วิหารหรือศาลาการเปลี่ยนให้ใช้วิธีการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
2 ถ้าเป็นสถานที่ที่ไม่เหมาะสมแก่การกลับเบญจางคประดิษฐ์ให้ใช้วิธีพนมมือไหว้
การแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคล
ปูชนียบุคคล หมายถึง บุคคลที่ควรแก่ความเคารพสักการะได้แก่พระภิกษุบิดามารดาครูบาอาจารย์ผู้ที่ควรแสดงความเคารพทั่วๆไปวิธีการแสดงความเคารพต่อปูชนผู้คนทำได้ดังนี้
1 การกราบ
1.1 การกราบพระ
1.2 การกราบบิดามารดาครูอาจารย์
2 การไหว้ 2.1 การไหว้พระสงฆ์(ขณะยืน)
2.2 การไหว้บิดามารดา(ขณะยืน)
2.3 การไหว้ผู้ใหญ่
2.4 การรับไหว้
การปฏิสันถารตามหลักปฏิสันถาร
การปฏิสันถารหมายถึงการต้อนรับแขกการทักทายปราศรัย
1 อามิสปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยสิ่งของ
2 ธรรมปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยธรรม